แท็ก: พราหมณ์
กำเนิดเทวาลัย “พระแม่อุมาเทวี” แห่ง “วัดแขก” (สีลม) มหาเทวีแห่งอำนาจวาสนา
กำเนิดเทวาลัย พระแม่อุมาเทวี วัดแขก (สีลม) มหาเทวีแห่งอำนาจวาสนา
“พระแม่อุมาเทวี” เทวีแห่งอำนาจวาสนา วัดพระศรีมหาอุมาเทวี หรือ “วัดแขก” ตั้งอยู่บนถนน...
“วัดศรีสวาย” อดีตโบสถ์พราหมณ์-ฮินดู สู่วัดพุทธ
รู้หรือไม่? วัดศรีสวาย อุทยานประวัติศาสตร์สุโขทัย เคยเป็นโบสถ์พราหมณ์ ที่ใช้ในพิธีโล้สำเภา ทั้งยังเป็นพื้นที่ประกอบพิธีกรรมทางศาสนาพราหมณ์-ฮินดู ก่อนจ...
“ไสยศาสตร์” เดิมคำนี้หมายถึง “ศาสนาพราหมณ์” ?
“ไสยศาสตร์” พูดคำนี้แล้วคนที่กำลังอ่านอยู่คงนึกถึง วิชาไสย การเล่นของหรือเลี้ยงดูสิ่งเร้นลับบางอย่างเพื่อให้ได้สิ่งที่ตนเองต้องการ แต่ที่จริงแล้ว ไสยศ...
ประเพณีไหว้ครู มาจากไหน? จากคติพราหมณ์ ถึงสมัยกรมพระยาดำรงฯ และแบบพิธีราชการ
พิธีไหว้ครู ถือได้ว่าเป็นประเพณีดีงามซึ่งมีหลายอย่าง หลายแบบไม่เหมือนกัน เช่น ครูทางช่างทำอย่างหนึ่ง ทางโขนละครทำอีกอย่างหนึ่ง และทางอักขระสมัยก็มีพิธ...
เพราะ “พรหมลิขิต” ชีวิตจึงวุ่น? เหตุใดชาวฮินดูนิยม “พระพรหม” น้อยกว่าพระศิวะ-นาร...
พระพรหม หนึ่งใน 3 มหาเทพในศาสนาพราหมณ์-ฮินดู แต่ถูกบูชาน้อยกว่า พระศิวะ กับ พระนารายณ์ ทั้งที่พระพรหมถูกยกย่องว่าเป็น “ผู้สร้าง” เป็นจิตวิญญาณของจักรว...
ถกตำนาน “พระราหู” เป็นใคร? ทำไมจ้องจองเวร “พระอาทิตย์-พระจันทร์”...
ถกตำนาน "พระราหู" เป็นใคร? ทำไมจ้องจองเวร "พระอาทิตย์-พระจันทร์"
ความเชื่อของคนไทยมีมาแต่โบราณว่าสุริยุปราคาก็คือ ปรากฏการณ์ที่พระอาทิตย์ถูกคราส หร...
เมื่อเครื่องบินตกในวังหลวง ครั้งกบฏบวรเดช เจ้าหน้าที่ต้องหามนักบินออกมาตายนอกวัง...
เรื่อง "เครื่องบินตก" ในวังหลวงจนนักบินตายนี้ เป็นส่วนหนึ่งในเหตุการณ์ "กบฏบวรเดช" เมื่อ พ.ศ. 2476 ถูกบอกเล่าไว้ในหนังสือ "พ. 27 สายลับพระปกเกล้าฯ และ...
“ศิวลึงค์” เป็นวัตถุเคารพที่ยิ่งใหญ่สุดของมนุษย์ได้อย่างไร เผยรากตำนานตั้งแต่โบร...
ศิวลึงค์ นี้ถือเป็นสิ่งเคารพอย่างหนึ่งของผู้นับถือศาสนาพราหมณ์ในอินเดีย
วัตถุเคารพนี้คือสัญลักษณ์ที่สำคัญอย่างหนึ่งของ พระศิวะ หรือ อิศวร ซึ่งเป็นเ...
สุนทรภู่ : บรรพชนและวังหลัง
ผมได้นำเสนอเรื่องบรรพชน (ที่สุนทรภู่เองท่านเรียกว่า โคตรญาติย่ายาย) ของท่านสุนทรภู่ ว่าเป็นสกุลพราหมณ์เมืองเพชร เมื่อปี พ.ศ. 2529 อันเป็นโอกาสครบรอบอา...
ถอดพิธีกรรมและความหมาย “สายธุรำ-สายธุหร่ำ” คติด้ายมงคลของพราหมณ์
สายธุรำ หรือ สายธุหร่ำ เป็นด้ายมงคลของพราหมณ์ หรือกล่าวโดยทั่ว ๆ ไปก็คือด้ายเครื่องหมายของวรรณะพราหมณ์ที่คล้องติดตัวอยู่เป็นประจำ ผู้ที่จะประกอบพิธีสำ...
หรือว่า ‘พระคเณศ’ เป็นครูช้างพราหมณ์สยาม? นัยของเรื่องนี้สะท้อนอะไรบ้าง?...
เทวสถาน หรือที่เรียกกันอย่างคุ้นปากว่าโบสถ์พราหมณ์ บางทีก็เรียกควบกันเป็นเทวสถานโบสถ์พราหมณ์ ถือเป็นสถานที่สำคัญแห่งหนึ่งของกรุงรัตนโกสินทร์ กิจพิธีใน...
รัชกาลที่ 1 กับพระราชวิจารณ์ผู้บูชา-นับถือลึงค์ เป็นพวกไร้ปัญญา
พระราชกำหนดใหม่บทที่ 35 (ให้นับถือเทพารักษ์แต่พอควร ห้ามอย่าให้นับถือลึงค์) ในกฎหมายตราสามดวง ซึ่งถูกประกาศใช้ในสมัยรัชกาลที่ 1 มีใจความตอนหนึ่งว่า (จ...