แท็ก: พระอินทร์
“อินทรธนู” ธนูของพระอินทร์ ที่มาของ “รุ้งกินน้ำ” ที่คนไทยห้ามชี้นิ้วใส่
“รุ้งกินน้ำ” ปรากฏการณ์ธรรมชาติที่เกิดขึ้นภายหลังฝนหยุดตก ซึ่งเราสามารถมองเห็นความสวยงามของมันได้อย่างเพลิดเพลินใจ จนใคร่อยากจะให้เพื่อนฝูงในเยาว์วัยไ...
คติ “พระอินทร์” และ “ศีรษะแห่งแผ่นดิน” การสร้างสรรค์สถาปัตยกรรมด้วยเหตุผลทางการเ...
สรุปประเด็นข้อเสนอ คติ พระอินทร์ และ "ศีรษะแห่งแผ่นดิน" ใน "มัชฌิมประเทศ" กลาง "ชมพูทวีป" ในหนังสือ การเมืองในสถาปัตยกรรมสมัยรัชกาลที่ 1 ของ ชาตรี ประ...
เจ้านครอินทร์ สร้างเมืองกำแพงเพชร, พระเจ้าตากไม่เคยเป็นเจ้าเมืองกำแพงเพชร
เมืองกำแพงเพชร น่าจะเริ่มขยับขยายจากเมืองนครชุมตั้งแต่พะงั่วคุ้มครองสุโขทัย เรือน พ.ศ. 1900 สำเร็จในแผ่นดินเจ้านครอินทร์ แล้วเพิ่มเติมเรื่อยๆ ไม่ได้เส...
เทพอัปสรเป็นใคร? ทำหน้าที่อะไร?
ในราชสำนักกรุงศรีอยุธยามีร่องรอยอยู่ในอนิรุทธคำฉันท์ ตอนหนึ่งว่า "นางสนม" ทั้งหลายก็คือ "เทพอัปสร" นี่แหละ ซึ่งล้วนเป็น "ลูกสาวไท้" หมายถึงลูกสาวเจ้าน...
พระอินทร์ : บทบาทในพุทธประวัติ
พระอินทร์หรือท้าวสักกะ คือเทวราชผู้เป็นใหญ่แห่งสวรรค์ชั้นดาวดึงส์ ซึ่งตั้งอยู่บนยอดเขาพระสุเมรุ มีปราสาทไพชยนต์หรือเวชยันตปราสาทเป็นที่ประทับ มีเวชยัน...
ความนัยของการสร้างกรุงเทพฯ ตามคติพระอินทร์ สมัยรัชกาลที่ 1
การล่มสลายของอาณาจักรอยุธยาได้สร้างความตระหนกแก่ชนชั้นนำสยามเป็นอย่างมาก เพราะมิใช่เป็นแค่การสูญเสียทางวัตถุ แต่เป็นการล่มสลายในแง่อุดมการณ์รัฐ เป็นคว...
ไขปัญหา “พระอินทร์” จากเทพเจ้า-แม่ทัพสวรรค์ของชนเผ่าอารยัน สู่ความเสื่อมถอยในอิน...
ความนํา
คนไทยโดยมากรู้จักพระอินทร์หรือ Indra ผ่านพระพุทธศาสนา ว่าเป็นเทพศักดิ์สูงที่สมัครเป็นศิษย์พระพุทธองค์ และเป็นเทพรักษาพระศาสนา น้อยคนนักที่ทรา...
ภาพเขียนฝีพระหัตถ์ “สมเด็จครู” ภาพจตุโลกบาล ภายในห้องพระบรรทม พระที่นั่งบรมพิมาน...
วันที่ 9 มิถุนายน พุทธศักราช 2489 เป็นอีกวันหนึ่งที่ยังความวิปโยคมาสู่พสกนิกรอย่างใหญ่หลวง เมื่อพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดิน...
กษัตริย์และรัฐ บนฐานอุดมคติเรื่อง “พระอินทร์” สมัยรัชกาลที่ 1
การล่มสลายของอาณาจักรอยุธยาได้สร้างความตระหนกแก่ชนชั้นนำสยามเป็นอย่างมาก เพราะมิใช่เป็นแค่การสูญเสียทางวัตถุ แต่เป็นการล่มสลายในแง่อุดมการณ์รัฐ เป็นคว...