เว็บไซต์นี้ใช้คุ้กกี้เพื่อสร้างประสบการณ์ที่ดีมีประสิทธิภาพยิ่งขี้น อ่านเพิ่มเติมคลิก (Privacy Policy) และ (Cookies Policy)
วันเสาร์ที่ 7 ธันวาคม พ.ศ.2567
หน้าแรก แท็ก พระราม

แท็ก: พระราม

กรุงลงกา ลิง รามเกียรติ์ จองถนน

ไฉนแรงงานไพร่พลลิงของพระราม ต้อง “จองถนน” หนทางสู่กรุงลงกา ไม่ใช้วิธีอื่น?...

ไฉนแรงงานไพร่พลลิงของพระราม ใน "รามเกียรติ์" ต้อง "จองถนน" หนทางสู่ "กรุงลงกา" ไม่ใช้วิธีอื่น? ใน รามเกียรติ์ การจะบุกไป กรุงลงกา มิใช่เรื่องยากเย็นอ...
หนุมาน กราบ พระราม พระลักษมณ์

เปรียบ “สฤษดิ์” เป็น “หนุมาน” ทหารเอกผู้จงรักภักดีต่อ “พระราม”...

"หนุมาน" สัญลักษณ์ของ จอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์ เป็นทหารเอกผู้จงรักภักดีต่อ "พระราม" การนำสัตว์ประจำปีเกิดมาใช้เป็นสัญลักษณ์เพื่อแสดงถึงอำนาจและบารมีขอ...
จิตรกรรม ทศกัณฐ์ ออกรบ กับ พระราม จาก เรื่อง รามเกียรติ์

“รามเกียรติ์ ตอนพระรามเดินดง” พระราชนิพนธ์ในร.4 แฝงสัญลักษณ์ทางการเมืองอย่างไร...

บทละครเรื่อง "รามเกียรติ์" ในสมัยต้นกรุงรัตนโกสินทร์มีความสําคัญเกี่ยวข้องกับ สัญลักษณ์ทางการเมือง ทั้งนี้เนื่องจากพระมหากษัตริย์ทรงมีสถานะเป็น “พระนา...
ทศกัณฐ์ ราวณะ ราวัณ โขน รามเกียรติ์

อะไร “ซ่อน” อยู่ในเศียรทั้ง 10 ของ “ทศกัณฐ์” พญายักษ์แห่งกรุงลงกา

อันที่จริง ทศกัณฐ์ ไม่ใช่ชื่อจริง ๆ ของพญายักษ์ในเรื่อง “รามเกียรติ์” หรือรามายณะ เพราะชื่อจริง ๆ คือ “ราวณะ” (Ravana - रावण) หรือ ราวัณ เป็นภาษาสันสก...
พระราม รามายณะ รามเกียรติ์

มี “รามายณะ” ฉบับพระรามไม่ใช่นารายณ์อวตาร?

รามายณะ หรือ “รามเกียรติ์” ฉบับอินเดียมีหลายฉบับหลายเวอร์ชันอย่างมาก และอาจมีมากถึงสามร้อยฉบับ อย่างไรก็ดี แกนของเรื่องราวทั้งหมดเกี่ยวพันกับ พระราม ท...
เหาะเกินลงกา หนุมาน เหาะ รามเกียรติ์

“เหาะเกินลงกา” สำนวนเปรียบเทียบดีจาก “รามเกียรติ์” แต่ว่าใครสั่งให้ใครเหาะ

“เหาะเกินลงกา” เห็นก็รู้ทันทีว่าต้องมีที่มาจากวรรณคดีเรื่อง "รามเกียรติ์" แต่มีความหมายอย่างไร ใครสั่ง ใครเหาะนั้น คงต้องอ่านที่อาจารย์ล้อม เพ็งแก้ว ท...
จิตรกรรม ทศกัณฐ์ ออกรบ กับ พระราม จาก เรื่อง รามเกียรติ์

คำสาปแช่งในวรรณคดีไทย ที่ทำให้เกิดพระราม-ทศกัณฐ์

"คำสาปแช่ง" ในวรรณคดีไทย ที่ทำให้เกิด พระราม-ทศกัณฐ์ ในวรรณคดีเรื่อง "รามเกียรติ์" พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ 2554 อธิบายความหมายของคำว่า “สา...

“พระเอกของเราแทบทุกเรื่องมักได้ดีโดยไม่ต้องทำอะไร” หลวงวิจิตรวาทการ มองวรรณคดี...

พลตรี หลวงวิจิตรวาทการ แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับเรื่อง "พระเอก" ใน รามเกียรติ์ คือ พระราม ขณะปาฐกถาเรื่อง มนุสสปฏิวัติ เมื่อ 16 พฤศจิกายน 2482 ความตอนห...

กรณีพิพาท “มัสยิดบาบรี” สร้างทับสถานที่ประสูติของพระราม?

เมื่อวันที่ 9 พฤศจิกายน พ.ศ. 2542 ประเทศอินเดียมีข่าวใหญ่ข่าวหนึ่ง ในวันนั้นมีการอ่านคำพิพากษาศาลสูงสุดอินเดียต่อกรณีพิพาททางศาสนาที่สำคัญในประวัติศาส...

“นางสีดา” งามแค่ไหน ถึงเป็นเมียพระรามที่ครบเครื่อง คนรบกับยักษ์แย่งชิงกันมาครอง...

"นางสีดา" อีกหนึ่งตัวเด่นในวรรณคดีนั้นงามแค่ไหน ถึงเป็นเมียพระรามที่ครบเครื่อง คนรบกับยักษ์แย่งชิงกันมาครอบครอง เรื่องราวในวรรณคดีว่าด้วยการสงครามร...

ติดตามเรา

เรื่องเด่น