เว็บไซต์นี้ใช้คุ้กกี้เพื่อสร้างประสบการณ์ที่ดีมีประสิทธิภาพยิ่งขี้น อ่านเพิ่มเติมคลิก (Privacy Policy) และ (Cookies Policy)
วันศุกร์ที่ 26 เมษายน พ.ศ.2567
หน้าแรก แท็ก ปรีดี พนมยงค์

แท็ก: ปรีดี พนมยงค์

ทำไมคณะราษฎร “ปลื้ม” พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอาทิตย์ทิพอาภา

หากพิจารณาความสัมพันธ์ระหว่างพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอาทิตย์ทิพอาภากับกลุ่มคณะราษฎร ก็จะพบมิติความสัมพันธ์เชิงบุคคลระหว่างพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์...
คณะราษฎร

คณะราษฎรเผยสาเหตุ ‘ปฏิวัติ 2475’ ปฐมบทจากความเสื่อมโทรมของระบอบสมบูรณาฯ ?...

คณะราษฎร เผยสาเหตุ "ปฏิวัติ 2475" ปฐมบทจากความเสื่อมโทรมของระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์? แม้ว่า “24 มิถุนายน” จะหมดความสำคัญไปแล้วในปฏิทินวันสำคัญของชาติ...

“ตึกโดม” ตึกแรกของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ สัญลักษณ์พิทักษ์ธรรมของ “ลูกแม่โดม”...

แต่เดิมนั้น มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์มีสภาพเป็นนิติบุคคล ไม่ใช่หน่วยงานของรัฐ ธรรมศาสตร์ได้เงินจากค่าลงทะเบียนของนักศึกษารุ่นแรก ๆ จำนวน 3 แสนบาท (ราว 50%...
พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 7 ไม่ปรากฏปีที่ถ่าย ภาพจาก AFP

รัชกาลที่ 7 รับสั่งชมปรีดี มีแผนทำให้ชีวิตพลเมืองดีขึ้น ขณะที่ทหารไม่มีแผนการอะไ...

ในการศึกษาประวัติศาสตร์ของไทยเป็นที่ทราบกันดีว่า รัชกาลที่ 7 ไม่ทรงเห็นด้วยกับเค้าโครงการเศรษฐกิจ (บ้างเรียก "สมุดปกเหลือง") ของนายปรีดี พนมยงค์ พระอง...

ปรีดี หนึ่งในแกนนำคณะราษฎร เล่าถึงจุดเริ่มต้นจิตสํานึกอภิวัฒน์

ปรีดี พนมยงค์ (พ.ศ. 2443-2526) นักกฎหมาย ที่ทำงานสำคัญในหลากหลายตำแหน่ง เช่น รัฐบุรุษอาวุโส ผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์, นายกรัฐมนตรีคนที่ 7 เป็นรัฐมนตร...

สงครามจิตวิทยาของอเมริกา-ไทยต่อญี่ปุ่น ในช่วงท้ายสงครามโลกครั้งที่ 2

เข้า พ.ศ. 2488 ฝ่ายสัมพันธมิตรเริ่มมีชัยชนะเหนือสมรภูมิยุโรป จึงหันความสนใจมายังสมรภูมิเอเชียมากขึ้น ส่งผลต่อการดำเนินงานของ 'เสรีไทย' จนทำให้ได้รับกา...

ดูมโนทัศน์ทางเศรษฐกิจของปรีดี พนมยงค์ ทาบกับ “เศรษฐศาสตร์ของชาร์ลส์ จิ๊ด”...

ย้อนหลังไปเมื่อ พ.ศ. 2475 ภายหลังเปลี่ยนแปลงการปกครองในวันที่ 24 มิถุนายน ศกนั้น, หลวงประดิษฐ์มนูธรรม (ปรีดี พนมยงค์) บุคคลสำคัญของคณะราษฎร ผู้เป็นเจ้...

“กรณีราชประสงค์” เมื่อทหารเรือ สู้กับทหารบก ในการเรียกร้องประชาธิปไตยปี 2492...

หลังจากจอมพล ป. พิบูลสงคราม ขึ้นบริหารประเทศเมื่อเดือนเมษายน 2491 จากการรัฐประหาร เกิดการต่อต้านทั้งจากฝ่ายกองทัพและพลเรือน ในส่วนของกองทัพ การต่อต้าน...

ความสัมพันธ์ระหว่างปรีดี พนมยงค์ กับกรมพระยาดำรงราชานุภาพ จากความทรงจำโอรสองค์เล...

การเปลี่ยนแปลงการปกครองเมื่อ พ.ศ. 2475 ส่งผลกระทบต่อประเทศและบุคคลสำคัญในไทยหลายประการ สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ เป็นเจ้านายอีกหนึ...

แรกเริ่มธรรมศาสตร์สร้างที่พำนักนศ. ถึงระเบียบก่อนรับปริญญาต้องกินนอนร่วมกัน 15 ว...

มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เป็นอีกหนึ่งสถาบันทางการศึกษาที่ติดกับภาพจำเหตุการณ์ทางการเมืองเกี่ยวกับประชาธิปไตยครั้งสำคัญหลายเหตุการณ์ในไทย มหาวิทยาลัยธรรมศ...

ย้อนรอยปัจฉิมกาลผู้นำคณะราษฎร วาระสุดท้ายของชีวิตเหล่าผู้ก่อการปฏิวัติ 2475

24 มิถุนายน 2564 จะเป็นปีที่ 89 ของการเปลี่ยนแปลงการปกครองสู่ระบอบประชาธิปไตยของไทย คงมีบทความเกี่ยวกับ “คณะราษฎร” ผู้สถาปนาการปกครองระบอบประชาธิปไตยอ...

“ปรีดี พนมยงค์” ลูกชาวนาที่สื่อตะวันตกเรียกว่า “บิดาแห่งประชาธิปไตยไทย”...

ภาพถ่ายไม่ระบุวันที่ของ ปรีดี พนมยงค์ ซึ่ง AFP เรียกว่า Thailand's 'father of democracy' ผู้นำการเปลี่ยนแปลงการปกครองในปี 1932 (พ.ศ.2475) ก่อนเสีย...

ติดตามเรา

เรื่องเด่น