เว็บไซต์นี้ใช้คุ้กกี้เพื่อสร้างประสบการณ์ที่ดีมีประสิทธิภาพยิ่งขี้น อ่านเพิ่มเติมคลิก (Privacy Policy) และ (Cookies Policy)
วันเสาร์ที่ 20 เมษายน พ.ศ.2567
หน้าแรก แท็ก ประชาธิปไตย

แท็ก: ประชาธิปไตย

เครือมติชน เครือเดลินิวส์ เลือกตั้ง

“มติชน-เดลินิวส์” จัดใหญ่! “สงคราม 9 พรรค THE LAST WAR” ประชันวิสัยทัศน์ ชี้ชะตา...

เครือมติชน จับมือ เครือเดลินิวส์ ผนึกกำลังครั้งใหญ่ รับเลือกตั้งปี 2566 จัดกิจกรรมแน่น ๆ ทั้ง “มติชนxเดลินิวส์ โพลเลือกตั้ง '66” ที่รอบแรกระหว่างวันที...

“ตราประจำจังหวัด” มายาคติประชาธิปไตยกับกระบวนการสร้างความหมายผ่านอุดมการณ์รัฐไทย...

การเกิดขึ้นของตราประจำจังหวัดในประเทศไทยริเริ่มขึ้นจากตราประจำตำแหน่งของเจ้าเมืองในสมัยสมบูรณาญาสิทธิราชย์และตราประจำธงประจำกองลูกเสือ 14 มณฑล ในสมัยร...

ชะตากรรม “ตำนานจอร์จ วอชิงตัน” การปฏิวัติที่ล้มเหลวในจีน

ทั้งซุนยัดเซ็นและจอร์จ วอชิงตันต่างถูกผลักขึ้นสู่เวทีประวัติศาสตร์ในช่วงเวลาหัวเลี้ยวหัวต่อสำคัญที่ประเทศจะเปลี่ยนจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์เป็นระบอบ...

“ไก่” กลายเป็นสัญลักษณ์สำคัญ (อย่างหนึ่ง) ของฝรั่งเศส ด้วยผลจากการปฏิวัติ

ใครที่ชอบดูฟุตบอลคงจะรู้จัก “ทีมตราไก่” เป็นอย่างดีว่าคือทีมชาติ ฝรั่งเศส ด้วย ไก่ เป็นสัญลักษณ์อย่างเป็นทางการของทางสมาคมฟุตบอลฝรั่งเศส ซึ่งทีมฟุตบอล...

กำเนิดตึกแถวสองฝั่งถนนราชดำเนิน ที่มาของฉายา “ป้อมปราการ” ประชาธิปไตย...

ถนนราชดำเนิน เมื่อเริ่มแรกนั้นได้จัดสร้างขึ้นเพื่อเชื่อมต่อระหว่างพระราชวังเดิมกับพระราชวังดุสิต บนพื้นที่ดินของราษฎรในสมัยรัชกาลที่ 5 นั้นทรงมีพระราช...

24 มิ.ย. 2475 พระยาพหลฯ อ่านประกาศคำแถลงการณ์คณะราษฎรฉบับแรก

เมื่อวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2475 ประเทศไทยเกิดการเปลี่ยนแปลงการปกครองจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์เป็นระบอบประชาธิปไตย คณะราษฎรนำโดยพระยาพหลพลพยุหเสนา ...

90 ปี ปฏิวัติ 2475 พลังแห่งอดีต ที่ยังคงเคลื่อนไหวในปัจจุบันและอนาคต

ประวัติศาสตร์ คือการศึกษาเรื่องราวการเปลี่ยนแปลงในอดีตผ่านหลักฐานต่างๆ เพื่อนำมาเป็นบทเรียนในปัจจุบัน ดังคำกล่าว “ศึกษาอดีต เพื่อเข้าใจปัจจุบัน และมอง...

หมุดหาย คณะราษฎรโผล่ : บทสำรวจงานเขียนเกี่ยวกับ “ปฏิวัติ 2475”

การปฎิวัติสยามเมื่อวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2475 เป็นการเปลี่ยนแปลงการปกครองจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์สู่ระบอบประชาธิปไตยภายใต้การบริหารของกลุ่มคณะราษ...

“เจียงไคเชก” ปฎิเสธตำแหน่ง “ประธานาธิบดี” เพราะไม่มีอำนาจที่แท้จริง

ระหว่างวันที่ 29 มีนาคม - 1 พฤษภาคม ค.ศ. 1948 พรรคก๊กมินตั๋งจัด “การประชุมสภาประชาชนเพื่อบังคับใช้รัฐธรรมนูญ” ขึ้นที่กรุงนานกิง ญัตติหลักของการประชุมค...

รัชกาลที่ 7 : “ข้าพเจ้าคิดว่า…ชนชั้นที่มีการศึกษาได้ก้าวไปจนไกลมากเสียแล้ว”...

เมื่อรัชกาลที่ 7 เผชิญความตื่นตัว "ประชาธิปไตย" ในหมู่ปัญญาชนเมื่อตอนต้นรัชกาล ทรงวิตกและตระหนักว่า "สมบูรณาญาสิทธิราชย์" จะหมดเวลาลงในไม่ช้า... "…...

8 ชุดเหตุการณ์ความขัดแย้งในการเมืองไทยยุคแรกแย้มปชต. เมื่อประนีประนอมกันได้ไม่นา...

ประวัติศาสตร์การเมืองไทยมีร่องรอยความขัดแย้งเสมอมาเช่นเดียวกับหลายพื้นที่ในโลก เมื่อครั้งหัวโค้งเปลี่ยนแปลงการปกครองพ.ศ. 2475 ที่จบลงในบรรยากาศซึ่งคลั...

โรคระบาดกลางสงครามเอเธนส์ VS สปาร์ตา นำมาสู่ยุคประชาธิปไตยกลายพันธุ์?

ในสงครามกรีกที่น่าสนใจครั้งหนึ่งซึ่งถูกขนานนามว่า "สงครามเพโลพอนนีเซียน" (Peloponnesian War) อันเกิดในช่วง 431–404 ปีก่อนคริสตกาล นอกจากจะสะท้อนความขั...

ติดตามเรา

เรื่องเด่น