เว็บไซต์นี้ใช้คุ้กกี้เพื่อสร้างประสบการณ์ที่ดีมีประสิทธิภาพยิ่งขี้น อ่านเพิ่มเติมคลิก (Privacy Policy) และ (Cookies Policy)
วันอังคารที่ 6 มิถุนายน พ.ศ.2566
หน้าแรก แท็ก ประชาธิปไตย

แท็ก: ประชาธิปไตย

กำเนิดตึกแถวสองฝั่งถนนราชดำเนิน ที่มาของฉายา “ป้อมปราการ” ประชาธิปไตย...

ถนนราชดำเนิน เมื่อเริ่มแรกนั้นได้จัดสร้างขึ้นเพื่อเชื่อมต่อระหว่างพระราชวังเดิมกับพระราชวังดุสิต บนพื้นที่ดินของราษฎรในสมัยรัชกาลที่ 5 นั้นทรงมีพระราช...

14 ตุลาคม 2516 รัฐบาลทหารใช้กำลังสลายผู้ชุมนุมเรียกร้องประชาธิปไตย แต่สุดท้ายสิ้...

การชุมนุมครั้งใหญ่ในเดือนตุลาคม 2516 เกิดขึ้นด้วยความไม่พอใจต่อรัฐบาลเผด็จการจากเหตุสะสมต่างๆ หลายประการ อันสืบเนื่องจากการใช้อำนาจโดยมิชอบ โดยเฉพาะกา...

พระองค์เจ้าปฤษฎางค์ “ตกอับ” สมัยร.5 เพราะเคยเรียกร้องประชาธิปไตย หรือด้วยเหตุอื่...

พระประวัติก่อนอุบัติเหตุ ...พระองค์เจ้าปฤษฎางค์ เป็นพระราชโอรสองค์สุดท้ายในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมขุนราชสีหวิกรม และหม่อมน้อย ธิดาพระยาราชมนตรี (ภู่ ต้...

ความเป็นมาของ “Great Compromise” การประนีประนอมในการร่างรัฐธรรมนูญสหรัฐอเมริกา...

รัฐธรรมนูญแห่งสหรัฐอเมริกา ร่างเสร็จอย่างสมบูรณ์ในวันที่ 17 กันยายน ค.ศ. 1787 ณ เมืองฟิลาเดลเฟีย รัฐเพนซิลเวเนีย สหรัฐอเมริกา โดยมีผู้แทนจาก 12 รัฐ ร่...

9 กันยายน 2528 “ทหารนอกราชการ” ก่อกบฏ อ้าง “เศรษฐกิจแย่-ว่างงานเยอะ-อาชญากรรมสูง...

เช้ามืดของวันที่ 9 กันยายน 2528 ราว 03.00 น. กลุ่ม “ทหารนอกราชการ” ได้นำกำลังทหารราว 500 นายก่อการยึดอำนาจ โดยการรัฐประหารเริ่มที่กำลังทหารจากกรมอากาศ...

30 สิงหาคม 1999 ชาวติมอร์ตะวันออกแห่ลง “ประชามติ” ปลดแอกจากอินโดนีเซีย

ติมอร์ตะวันออก สู้รบเพื่ออิสรภาพของตนมานับตั้งแต่อินโดนีเซียใช้กำลังบุกยึดประเทศที่เคยเรียกตัวเองว่า สาธารณรัฐประชาธิปไตยติมอร์ตะวันออกตั้งแต่ปี 1976 ...

26 ส.ค. 1789 สภานิติบัญญัติของฝรั่งเศส รับรองคำประกาศว่าด้วย “สิทธิมนุษยชนและพลเ...

การรับรองคำประกาศสิทธิมนุษยชนและพลเมืองของสภานิติบัญญัติแห่งชาติของฝรั่งเศสในปี 1789 (พ.ศ. 2332) เกิดขึ้นท่ามกลางกระแสการปฏิวัติ เนื่องมาจากความไม่พอใ...

ทำไมสหรัฐฯ ไม่ล้ม “สถาบันจักรพรรดิ” ของญี่ปุ่น หลังสิ้นสุดสงครามโลกครั้งที่ 2...

ญี่ปุ่นภายใต้การยึดครองของสหรัฐอเมริกา : การดำรงอยู่ของสถาบันจักรพรรดิ ภายหลังที่ญี่ปุ่นประกาศยอมแพ้ในสงครามโลกครั้งที่ 2 อย่างเป็นทางการ สหรัฐอเมริก...

24 มิ.ย. 2475 พระยาพหลฯ อ่านประกาศคำแถลงการณ์คณะราษฎรฉบับแรก

เมื่อวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2475 ประเทศไทยเกิดการเปลี่ยนแปลงการปกครองจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์เป็นระบอบประชาธิปไตย คณะราษฎรนำโดยพระยาพหลพลพยุหเสนา ...

90 ปี ปฏิวัติ 2475 พลังแห่งอดีต ที่ยังคงเคลื่อนไหวในปัจจุบันและอนาคต

ประวัติศาสตร์ คือการศึกษาเรื่องราวการเปลี่ยนแปลงในอดีตผ่านหลักฐานต่างๆ เพื่อนำมาเป็นบทเรียนในปัจจุบัน ดังคำกล่าว “ศึกษาอดีต เพื่อเข้าใจปัจจุบัน และมอง...

หมุดหาย คณะราษฎรโผล่ : บทสำรวจงานเขียนเกี่ยวกับ “ปฏิวัติ 2475”

การปฎิวัติสยามเมื่อวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2475 เป็นการเปลี่ยนแปลงการปกครองจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์สู่ระบอบประชาธิปไตยภายใต้การบริหารของกลุ่มคณะราษ...

“อนุสาวรีย์ประชาธิปไตย” เกือบถูก “รื้อ” เพื่อสร้างอนุสาวรีย์ให้ “รัชกาลที่ 7”

อนุสาวรีย์ประชาธิปไตยถูกสร้างขึ้นเพื่อระลึกถึงเหตุการณ์เปลี่ยนแปลงการปกครองปี พ.ศ. 2475 โดยกลุ่มคณะราษฎร แต่เมื่อกลุ่มคณะราษฎรแตกสลายและกลุ่มอำนาจเก่า...

ติดตามเรา

เรื่องเด่น