เว็บไซต์นี้ใช้คุ้กกี้เพื่อสร้างประสบการณ์ที่ดีมีประสิทธิภาพยิ่งขี้น อ่านเพิ่มเติมคลิก (Privacy Policy) และ (Cookies Policy)
วันอังคารที่ 15 ตุลาคม พ.ศ.2567
หน้าแรก แท็ก ปฏิทิน

แท็ก: ปฏิทิน

ปฏิทิน สัปดาห์ วัน

หนึ่งสัปดาห์มี 7 วัน ทำไมต้อง 7 วัน?

สำหรับบางคน การรอวันหยุดสุดสัปดาห์มันช่างยาวนานราวนับอสงไขย เฝ้านับวันแล้ววันเล่า ตั้งแต่วันจันทร์ อังคาร… ไปถึงศุกร์ แล้วอุทิศช่วงเวลาแห่งการพักผ่อนใ...
ออกัสตัส ซีซาร์ Augustus Caesar ที่มา ชื่อเดือน สิงหาคม หรือ August

สิงหาคม เดือนที่มีชื่อภาษาอังกฤษว่า “ออกัสท์” (August) ที่มาคือ?

สิงหาคม (August) เดือนลำดับ 8 ในระบบปฏิทินแบบสุริยคติ หากว่ากันด้วยชื่อเดือนในภาษาไทยก็มาจากชื่อ “จักรราศี” คือ ราศีสิงห์ ในระบบโหราศาสตร์ซึ่งมีต้นตำร...
คนงาน แรงงาน ตึกระฟ้า แมนแฮตตัน วันหยุด

หนึ่งสัปดาห์มี 7 วัน แต่ทำไมวันหยุดสากลต้องเป็นเสาร์-อาทิตย์ ?

ธรรมเนียม วันหยุด นั้นมีมาตั้งแต่สมัยโบราณ หลักฐานเกี่ยวกับธรรมเนียมวันหยุดที่เก่าแก่ที่สุดพบในความเชื่อ ศาสนายูดาย (Judaism) ของชาวฮีบรูหรือชาวยิว พว...
ปุนัพสุนักษัตร หมู่ดาว นักขัตฤกษ์

รูปนามและความหมาย “นักขัตฤกษ์” วันหยุดราชการที่ไม่ใช่เสาร์-อาทิตย์

วัน “นักขัตฤกษ์” (Public Holiday, Festivity) คือวันหยุดราชการที่ไม่ใช่วันหยุดสุดสัปดาห์สากลอย่างวันเสาร์-อาทิตย์ หรือ Weekend วันนักขัตฤกษ์นั้นถือเป็น...
ปฏิทิน แม่โขง

เปิดกรุ ปฏิทิน “แม่โขง” จากสุรายุคชาตินิยม ถึงความงามสตรียุค “อวบ” แล้วสวย

ปฏิทิน “แม่โขง” ดูเหมือนจะเป็นปฏิทิน “โป๊” รุ่นเก่าที่สุด ที่เริ่มต้นมาก่อนใครเพื่อน หรืออย่างน้อยก็เป็นรุ่นแรก ๆ ที่มีแต่คนกล่าวขวัญถึง และปรารถนาที่...
ภาพเขียน หญิงชาวจีน ศตวรรษที่ 19

วันนี้มี “อุตุฯ” แจ้งฤดูหนาวมา แล้วคน(จีน)โบราณรู้ฤดูกาลที่เปลี่ยนแปลงได้อย่างไร...

สมัยนี้เรามี "กรมอุตุนิยมวิทยา" ที่ประกาศแจ้งเตือนแต่ละ "ฤดูกาล" ว่า ฝนกำลังหมด หนาวกำลังมา แต่คนเมื่อหลายพันปีก่อนรู้ฤดูที่เปลี่ยนแปลง โดยสังเกตความส...

ปฏิทินถิ่นอุษาคเนย์ ไม่ได้มีแค่ปี พ.ศ. กับปี ค.ศ.

ปฏิทิน เป็นศัพท์ผูกใช้ทางภาษาบาลี มาจาก ปฏิ+ทิน (สันสกฤต ปฺรติทิน) แปลว่า ช่วงเวลา 24 ชั่วโมงเฉพาะ แต่ชาวฮินดูเองรู้จักปฏิทินในชื่อว่า “ปัญจัง (Pancha...

หนึ่งประเทศ สองระบบ กับ “ระบบปฏิทิน” หลายแบบที่ราชการไทยเคยใช้มาในอดีต

พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2554 อธิบาย “ปฏิทิน” ว่า “น. แบบสำหรับดูวัน เดือน ปี”  แต่การเลือกใช้ปฏิทินก็ยังมีรายละเอียดย่อยๆ เฉพาะบุคคลตามพื้นฐ...

ย้อนดูเรื่องการจัดระบบเวลาของไทย จากวัน-เดือน-ปี จนถึงการใช้ปฏิทิน

วันหนึ่งๆ ในอดีต เริ่มตั้งแต่ดวงอาทิตย์ขึ้นไปสิ้นสุดเมื่อดวงอาทิตย์ขึ้นในวันรุ่งขึ้น ต่อมาเมื่อวันที่ 10 กันยายน พ.ศ. 2460 มีประกาศให้นับเวลาราชการตั้...
ปฏิทิน พ.ศ. 2458

ย้อนรอย แรกมี “ปฏิทินสยาม” ดูภาพปฏิทินเก่าของนักสะสมชั้นปรมาจารย์

การพิมพ์ปฏิทินในเมืองไทย เริ่มมีในสมัยรัชกาลที่ 3 คือมีบันทึกของหมอบรัดเลย์นักสอนศาสนา ระบุว่า เมื่อ ค.ศ. 1842 หรือ พ.ศ. 2385 นั้น มีการพิมพ์ปฏิทินเป็...

ติดตามเรา

เรื่องเด่น