แท็ก: นิทาน
ย้อนประวัติ “อีสป” ผู้แต่งนิทานอมตะ กับคติสอนใจ “ทรราชย่อมหาเหตุแห่งการทรราชได้เ...
อีสป (Aesop) เป็นทาสชาวกรีกผู้แต่งนิทานอีสปที่ได้รับความนิยมทั่วโลกมาหลายยุคหลายสมัยยาวนานนับพันปี ประวัติของอีสปมีความคลุมเครือในหลายประเด็น เพราะขาด...
“พระร่วง” ลูกนางนาค สะท้อนสัมพันธ์ร่วมเมืองน่านและกลุ่มชนลุ่มน้ำโขง
ตํานาน “พระร่วง” ลูกนางนาค
หลักฐานประเภทตำนานหลายฉบับระบุว่า พระร่วง เป็นลูกนางนาค เอกสารเก่าสุดที่พบขณะนี้คือ “พระราชพงศาวดารเหนือ” พระบาทสมเด็จพระพ...
“กะเหรี่ยง” ชนเผ่านักเล่านิทาน เรื่องเล่าแสนเศร้าสะท้อนความไร้อำนาจของตนเอง
กะเหรี่ยง หรือที่ภาษาเหนือ (คำเมือง) เรียกกันว่า “ยาง” เป็นชื่อของชาวเขาเผ่าใหญ่ที่สุดซึ่งมีถิ่นฐานอยู่ในทั้งประเทศไทยและพม่า ชาวกะเหรี่ยง ในเมืองไทยส...
เรื่องเล่า “ศรีธนญชัย” ฉบับกะเหรี่ยง ที่มีชื่อว่า “จ้อ เกอะ โด่”
ในบรรดาเรื่องเล่าของชาวกะเหรี่ยง เรื่องของ “จ้อ เกอะ โด่” อยู่คู่หมู่บ้าน เล่ากันปากต่อปากมายาวนาน จนสืบค้นหาแหล่งที่มาไม่ได้ ถามคนเฒ่าคนแก่ ก็ได้รับค...
“ขุนช้างขุนแผน” เรื่องไม่มีจริง แต่เป็นนิทาน วรรณกรรม “ผู้ดี” กระฎุมพี
ขุนช้างขุนแผน มีกำเนิดและพัฒนาการเป็น “นิทาน” ของรัฐสุพรรณภูมิ ขุนช้างขุนแผนที่รู้จักปัจจุบันเป็น วรรณกรรม “ผู้ดี” กระฎุมพี ไม่ใช่วรรณกรรมสะท้อนชีวิตช...
“บ่างช่างยุ” สำนวนนี้เป็นมาอย่างไร “บ่าง” คือตัวอะไร แล้วไปยุใคร ?...
"บ่างช่างยุ" เป็นสำนวนไทยที่เกิดจากคำ 3 คำ คือ บ่าง (สัตว์ป่าชนิดหนึ่ง) + ช่าง (ชอบ, นิยม) + ยุ (ยุแยง, ทำให้แตกแยก) โดยพจนานุกรม ฉบับราชยัณฑิตยสถาน พ...
ตำนาน “กำเนิดข้าว” ในนิทานอินโดฯ พืชสวรรค์โผล่เหนือหลุมศพเทพธิดา
"ข้าว" อาหารหลักของคนหลายชนชาติ โดยเฉพาะประเทศในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ที่บริโภคข้าวเป็นอาหารหลักมาอย่างยาวนาน เฉพาะในประเทศไทย นักโบราณคดีค้นพบเมล็ดข้...
นิทาน “นายจิตร นายใจ” วรรณกรรมเสียดสี 3 พระสงฆ์ชั้นผู้ใหญ่ สมัยรัชกาลที่ 5...
วรรณกรรมเสียดสีสังคมมีมาทุกยุคทุกสมัย ในบางเรื่องผู้ประพันธ์จะใช้วิธีกล่าวเสียดสีบุคคลโดยตรง ไม่มีการอ้อมค้อมหรือใช้ตัวละครสมมุติ นั่นคือนิทานเรื่อง น...
อะลาดิน (Aladdin) เป็นคนจีน? เด็กขี้เกียจ เกาะแม่กิน จนได้ร่วมเตียงเจ้าหญิงที่ไม...
เมื่อมีคนกล่าวถึง "เจ้าหญิงดิสนีย์" หนึ่งในเจ้าหญิงที่ผู้คนจดจำได้มากคนหนึ่งคือ "เจ้าหญิงจัสมิน" จากเรื่อง "Aladdin" เจ้าหญิงสไตล์ "แขก" รูปร่างหน้าตา...
“สุวรรณภูมิ” ในนิทานนานาชาติ ทำไมสถานที่ในเรื่องมักคือชมพูทวีป-ไม่บอกเวลา...
บทความนี้เรียบเรียงขึ้นใหม่จากบทความที่ตีพิมพ์ในวารสารอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ปีที่ 11 ฉบับที่ 2 (2531) เนื่องจากได้พบข้อมูลเพิ่มเติม
กา...
“นายจิตร นายใจ” นิทานวิจารณ์เจ้านาย-ขุนนางสมัยร.5 ลุ่มหลงการละคร จนละเลยงานราชกา...
นิทานเรื่อง นายจิตร นายใจ เป็นผลงานของ เจ้าพระยาภาสกรวงศ์ (พร บุนนาค) ตีพิมพ์ใน ดรุโณวาท หนังสือพิมพ์เล่มแรกโดยคนไทย นิทานเรื่องนี้ได้ถ่ายทอดทรรศนะของ...
“ชาวนาผู้มีวาทศิลป์” วรรณกรรมอียิปต์โบราณ ปราชญ์ชาวนาผู้เรียกร้องความยุติธรรมถึง...
วรรณกรรมอียิปต์โบราณที่เป็นนิทานเรื่อง "ชาวนาผู้มีวาทศิลป์" (Tale of the Eloquent Peasant) ได้รับการยกย่องว่าเป็นบทประพันธ์คลาสสิคชิ้นแรก ๆ ของสังคมมน...