แท็ก: ธรรมยุต
เหตุใด “วชิรญาณภิกขุ” ทรงทำ “ทัฬหีกรรม” ถึง 2 ครั้ง?
วชิรญาณภิกขุ หรือ “ภิกษุเจ้าฟ้ามงกุฎ” ที่ต่อมาคือพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ 4) ถือเป็นผู้ทรงสถาปนาคณะธรรมยุติกนิกาย โดยทรงทำ “ทัฬหี...
การเปลี่ยน “ลาวอีสาน” ให้เป็นไทยผ่านพระสงฆ์อีสานสาย “ธรรมยุต”
การเปลี่ยน “ลาวอีสาน” ให้เป็นไทยผ่าน พระสงฆ์อีสาน “สายธรรมยุต”
ในสมัยรัชกาลที่ 4 ลัทธิอาณานิคมได้รุกคืบมายังฝั่งซ้ายแม่น้ำโขง ทำให้ภาคอีสานซึ่งอยู่ฝั...
อันซีนเยาวราช “วัดกันมาตุยาราม” สร้างจากพลังศรัทธาแม่เล้า
หากถามผู้คนมากมายว่ารู้จัก วัดกันมาตุยาราม ซึ่งสร้างโดย “แม่เล้า” หรือไม่ จำนวนไม่น้อยอาจส่ายหน้าและเข้าใจว่ามีเพียง “วัดคณิกาผล” เท่านั้นที่สร้างโดยแ...
วัดราชประดิษฐสถิตมหาสีมาราม วัดที่ ร.4 ทรงสร้างเพื่อเป็น “ที่มั่น” ของคณะสงฆ์ธรร...
ในบรรดาพระมหากษัตริย์ของไทย พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 4 ทรงผนวชยาวนานที่สุดคือ 27 พรรษา (พ.ศ. 2367-94) และใน พ.ศ. 2373 ทรงสถาปนาคณะ...
พระนิรันตราย: พระพุทธรูปอันมีมงคลนามว่าปราศจากอันตราย
พระนิรันตรายเป็นพระพุทธรูปหล่อจากทองคำ ประทับสมาธิราบ ปางสมาธิ ทรงครองจีวรห่มเฉียง พระเกตุมาลาใหญ่ไม่ปรากฏพระอุษณีษะ พระนลาฏกว้าง มีพระขนงต่อกันเป็นปี...
สมัยแรก พระป่า-พระธรรมยุต ก่อนพระอาจารย์มั่น ภูริทัตโต เป็นอย่างไร
เมื่อกล่าวถึง “พระป่า” ภาพที่นึกถึงก็เป็น พระที่ออกไปธุดงค์ แสวงหาสถานที่สงบๆ เพื่อบำเพ็ญสมาธิภาวนา โดยพระป่าที่ได้รับการยกย่องในสายพระป่าที่ได้รับการ...
ผ่างานอุปสมบท พระยาพหลพลพยุหเสนา การ “หลอมนิกาย” งานสงฆ์ครั้งใหญ่ยุคคณะราษฎร
“...แต่ก่อนไม่มีมหานิกาย มีแต่ ‘พระไทย’ เพราะตั้งธรรมยุตขึ้น จึงเรียกของเดิมว่า ‘มหานิกาย’ ซึ่งแปลว่า ‘คณะใหญ่’ เรียกว่า ถ้าไม่มีธรรมยุตก็ไม่มีมหานิกา...
รัชกาลที่ 4 ทรง “เอาใจใส่” ธรรมยุตนิกาย จนเกิดพระราชนิยมใหม่? ในหมู่เจ้านาย
ระหว่างการผนวช 27 พรรษา รัชกาลที่ 4 ทรงสถาปนา “ธรรมยุตินิกาย” เมื่อพระองค์เสวยราชสมบัติธรรมยุตินิกายก็เฟื่องฟู และเป็นที่ศรัทธาอย่างยิ่ง โดยเฉพาะอย่าง...
รัชกาลที่ 4 กับคณะสงฆ์ลังกา ในฐานะแรงบันดาลใจหลักของธรรมยุต
ถึงแม้ว่าคณะสงฆ์ธรรมยุตที่พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงสถาปนาขึ้นเมื่อครั้งทรงพระผนวชในพระราชฉายาว่า พระวชิรญาณเถระจะไม่ได้เกิดขึ้นอย่างฉับพลั...