แท็ก: ทุเรียน
ทุเรียนเมืองไทยมาจากไหน? ทำไมจึงเรียกว่าทุเรียน?
หนังสือสารานุกรมไทยสำหรับเยาวชนฯ (เล่มที่ 28 เรื่องที่ 4 ทุเรียน ) กล่าวว่า ลาลูแบร์ นักบวชนิกายเยซูอิต และหัวหน้าคณะราชทูตที่พระเจ้าหลุยส์ที่ 14 รับส...
ปาเลอกัวซ์ ฝรั่งที่กินทุเรียนได้ กินทุเรียนเป็น
สังฆราชปาเลอกัวซ์ (พ.ศ. 2348-2405) นักบวชชาวฝรั่งเศสที่เข้ามาเมืองไทย ในรัชสมัยรัชกาลที่ 4 โดยพำนักอยู่ในเมืองไทยยาวนาถึง 24 ปี (พ.ศ. 2372-2396) ทำให้...
บันทึกเรื่อง “ทุเรียน” ในประวัติศาสตร์ไทย ลาลูแบร์บอก “กลิ่นเกินทน”
ความดีงามของฤดูร้อนอย่างหนึ่งก็คือ มีผลไม้หลายชนิดให้เลือกกิน ตั้งแต่มะม่วง, ทุเรียน, เงาะ, มังคุด, ลำใย ฯลฯ แต่ที่ถือว่า “แรง” ทั้งเรื่องราคา, กลิ่น ...
“อีเนื้อแดง” ชื่อเดิมของทุเรียน “พวงมณี” มณีงาม ประดับวงการทุเรียนไทย...
ชุมชนบ้านหนองขอน ตำบลคมบาง อำเภอเมืองจันทบุรี เป็นชุมชนเก่าแก่ ดูได้จากต้นมังคุดที่อายุมากกว่า 100 ปี ที่นี่คือถิ่นกำเนิดของทุเรียนพวงมณี เจ้าของคือ ค...
ทำไมเรียก “ทุเรียน”? และการเล่าขานผลไม้ที่กลิ่นเหม็นเหมือน “ขี้ซำปอกง”
ปริวัฒน์ จันทร เขียนเล่าเรื่องทุเรียนไปเมืองจีนกับซำปอกง ซึ่งเป็นคำบอกเล่าเก่าแก่ว่า คำว่า “ทุเรียน” ในภาษาจีนกลาง เจิ้งเหอเป็นคนตั้งชื่อว่า “หลิวเหลี...
ทุเรียน 100 ปี และอุโมงค์น้ำใต้ดิน ท่าใหม่ เมืองจันท์ ของดีที่เกือบลืม
ถิ่นเดิมของทุเรียนจริงๆ แล้ว อยู่ที่ประเทศบรูไน อินโดนีเซีย และมาเลเซีย มีการนำเข้ามาปลูกในพื้นที่ภาคกลางของไทย ผ่านทางภาคใต้ คาดว่าปลูกกันมานานกว่า 3...
เมื่อฝรั่งในแผ่นดินพระนารายณ์ บอกว่า ทุเรียนกลิ่นเหม็น ขณะที่แจ็ค หม่า บอกว่าขาย...
จดหมายเหตุลาลูแบร์ (แปลโดย สันต์ ท.โกมลบุตร) บันทึกถึงทุเรียนไว้ว่า
"ดูเรียน" (Durion) ชาวสยามเรียกว่า "ทูลเรียน" (Tourrion) เป็นผลไม้ที่นิยมกันมาก...
อ็องรี มูโอต์ นักสำรวจชาวฝรั่งเศสบันทึกประสบการณ์กิน “ทุเรียน” เมืองจันท์
แม้ทุเรียนจะได้ชื่อว่า “ราชาแห่งผลไม้” แต่ไม่ใช่ว่า จะเป็นที่ชื่นชอบของทุกคน ปัญหาใหญ่ของทุเรียนคือ “กลิ่น” กลิ่นหอมชวนหลงใหลสำหรับ “ติ่งทุเรียน” กลาย...
หลงลับแลและหลินลับแล ทุเรียนดีอุตรดิตถ์ คนกินหลงใหลในรสชาติ
เมื่อก่อนยามทุเรียนสุกแก่ ชาวสวนจะนำตาข่ายไปขวางตามทางลาดชันของพื้นที่ไว้ เช้าๆ ก็ไปเก็บ
ทุเรียนที่ร่วงลงมาติดตาข่าย ผลผลิตที่สุกลงมาจากต้น เมื่อกระท...