เว็บไซต์นี้ใช้คุ้กกี้เพื่อสร้างประสบการณ์ที่ดีมีประสิทธิภาพยิ่งขี้น อ่านเพิ่มเติมคลิก (Privacy Policy) และ (Cookies Policy)
วันพฤหัสที่ 18 เมษายน พ.ศ.2567
หน้าแรก แท็ก ถนน

แท็ก: ถนน

ถนนหรือสะพานก็ “ซังฮี้” ว่าแต่มันมีที่มาอย่างไร?

ถนน “ซังฮี้” เป็นถนนที่เริ่มต้นจากถนนจรัญสนิทวงศ์ สิ้นสุดที่ถนนราชปรารภ ส่วน “สะพานซังฮี้” เป็นสะพานข้ามแม่น้ำเจ้าพระยา เชื่อมถนนราชวิถีฝั่งพระนครและฝ...
นายช่าง ของ กรมทางหลวง ถนน รถยนต์

นายช่างกรมทางหลวง เล่าประสบการณ์โหด-ฮา ในการสร้างถนนเมื่อ 60 ปีก่อน

การสร้าง ถนน ของ กรมทางหลวง ในปัจจุบันง่ายเร็วขึ้น สะดวกขึ้น เพราะเทคโนโลยีที่ก้าวหน้า แต่เมื่อประมาณ 60 กว่าปีก่อน การจะสร้างถนนทางลูกรังหรือถนนลาดยา...
แผนที่ กรุงเทพ ถนน แบบแปลน

ซางฮี้-ราชวิถี ประแจจีน-เพชรบุรี นามที่เปลี่ยนไปของ “ถนน” ยุคแรกในกรุงเทพฯ...

"ถนน" กลายเป็นคมนาคมที่เริ่มมีความสำคัญมาตั้งแต่สมัยรัชกาลที่ 4 เพราะแต่เดิมคนในกรุงเทพฯ มักใช้การคมนาคมทางน้ำ-เรือเป็นหลัก แต่เมื่อวิถีชีวิตเปลี่ยนจา...
ถนนข้าวสาร คนข้ามถนน ร้านค้า

ชื่อ “ถนน” ที่ไม่ใช่แค่ชื่อ แต่สื่อถึงความสัมพันธ์ทางสังคมในวัฒนธรรมไทย

ชื่อถนน และการตั้งชื่อถนน ในกรุงเทพฯ (และว่าตามจริงก็มีเป็นเช่นนี้ในพื้นที่อื่น) มีธรรมเนียมปฏิบัติการตั้งชื่อเช่นเดียวกับบุคคล, สิ่งของ และสถานที่ โด...
ทางด่วน ทางพิเศษเฉลิมมหานคร ทางด่วนสายแรก

เกร็ดข้อมูล ทางพิเศษเฉลิมมหานคร “ทางด่วน” สายแรกของไทย

"โครงการทางด่วนขั้นที่ 1" โครงการพัฒนาระบบคมนาคม เป็นโครงการ "ทางด่วน" สายแรกของประเทศไทย โดยมีการทางพิเศษแห่งประเทศไทย เป็นผู้รับผิดชอบดำเนินการ ระยะ...

ร.5ทรงเล่าอุปสรรคพัฒนาคมนาคม แนวคิดเจ้านาย-ข้าราชการ “ไม่ต้องการถนน อยากได้แต่คล...

ถึงพื้นที่กรุงเทพฯ จะอัดแน่นไปด้วยถนนมากมาย แต่ทุกวันนี้เชื่อว่าพื้นที่ถนน 2-4 เลนก็ยังไม่เพียงพอต่อความต้องการ หากย้อนเวลากลับไปเมื่อครั้งรัชสมัยพระบ...

“คน” เปลี่ยนชื่อได้ “ถนน” เปลี่ยนชื่อบ้าง แต่เปลี่ยนไปทำไม? ใครเปลี่ยนให้?

ช่วง 4-5 ปีที่ผ่านมา จะเห็นบุคคลหลายอาชีพเปลี่ยนชื่อกันมากมาย นัยว่าเพื่อความเป็นสิริมงคลชีวิต ตามที่พระ ที่หมอดู ฯลฯ แนะนำมา แต่วันนี้เราจะชวนท่านไปด...

พระนาม “วชิรุณหิศ” ที่พระราชทานเป็นชื่อถนน แกะรอยเส้นทางนี้ อยู่จุดไหนในปัจจุบัน...

“...ถนนสายนี้จะให้ชื่อว่า วชิรุณหิศ เพราะผ่านไปใน ที่ซึ่งตั้งใจจะให้เปนที่บ้านของเขา...” ข้อความข้างต้น มาจากพระราชหัตถเลขาของ พระบาทสมเด็จพระจุลจ...

ถนนแห่งกรุงรัตนโกสินทร์ : ถนนเก้าสายสั้นๆ ที่มีประวัติความเป็นมายาวนาน

กรุงรัตนโกสินทร์ เมื่อพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช เสด็จเถลิงถวัลยราชสมบัติ ทรงมีพระราชดำริว่า ฝั่งฟากตะวันออกของแม่น้ำเจ้าพระยา มีชัยภูมิด...

สมัยก่อนซ่อมถนนอย่างไร เมื่อราชการทุนไม่พอ ซ่อมแล้วการใช้งานก็ยังไม่สมบูรณ์

สมัยที่เทคโนโลยีการก่อสร้างก้าวหน้าไปไกล การซ่อมแซมโครงสร้างการคมนาคมทันสมัยมีกรรมวิธีแตกต่างจากสมัยก่อน นอกจากกรรมวิธีที่แตกต่างกันแล้ว หากพูดถึงการซ...
รถรางจอดบน ถนนเจริญกรุง ใกล้เสาไฟฟ้า ภาพจากหนังสือ Siam (1913) โดย Walter Armstrong Graham

การเดินทางสัญจรยามค่ำคืนของชาวกรุงเทพ กับภัยซ่อนเร้นจากนักเลง-อาชญากร สมัยรัชกาล...

ถนนหนทางในกรุงเทพฯ สมัยรัชกาลที่ 5 ได้รับการปรับปรุงให้เป็นทางสัญจรเชื่อมโยงทั้งในเขตกำแพงเมือง และภายนอกไปยังชุมชนต่าง ๆ ซึ่งเห็นถึงการเปลี่ยนแปลงทาง...

รู้จัก เพอร์ซี ชอว์ ชาวบ้านผู้คิดค้น “ตาแมว” เพิ่มความปลอดภัยบนถนนโดยบังเอิญจนร่...

รู้จัก "เพอร์ซี ชอว์" ชาวบ้านผู้คิดค้น ตาแมว เพิ่มความปลอดภัยบนถนนโดยบังเอิญจนร่ำรวย จากผู้รับเหมาก่อสร้างถนนที่ทำธุรกิจมาแล้วหลากหลายอย่าง เพอร์ซี...

ติดตามเรา

เรื่องเด่น