แท็ก: ญวน
พระเจ้าท้ายสระ ส่งทัพหนุนเจ้ากัมพูชา “ตีเมืองคืน” จากญวน หวังขยายอำนาจกรุงศรีอยุ...
รัชสมัย สมเด็จพระเจ้าท้ายสระ (ครองราชย์ พ.ศ. 2251-2275) กษัตริย์ราชวงศ์บ้านพลูหลวงแห่งกรุงศรีอยุธยา มีเหตุการณ์สำคัญที่เกี่ยวพันกับกัมพูชาและญวน คือ ส...
พระเจ้าตาก ยึดฮาเตียน (พุทไธมาศ) “แบ่ง” เขมรกับอ๋องตระกูลเหงวียน
สมัยกรุงธนบุรี พ.ศ. 2314 เกิดสงครามยึด “ฮาเตียน” เมืองท่าสำคัญปลายคาบสมุทรอินโดจีน ส่วนหนึ่งในยุทธศาสตร์การแผ่ขยายอำนาจของ สมเด็จพระเจ้าตากสิน ท่ามกลา...
“อานามสยามพ่าย” ยุทธนาวี “แหร็กเกิม-ส่วยมุ๊ท” เมื่อทัพสยามพ่ายยับที่เวียดนาม
ยุทธนาวีที่คลอง “แหร็กเกิม-ส่วยมุ๊ท” ประเทศเวียดนาม ดูจะเป็นความทรงจำอันเลือนรางในประวัติศาสตร์ไทย เหตุการณ์ครั้งนั้นคือความปราชัยอันย่อยยับของกองทัพส...
เมื่อพม่าขอญวนเป็นไมตรี ชวนตีเมืองไทย หวังทำสงครามกระหนาบสองด้าน
เมื่อ พ.ศ. 2366 ตรงกับสมัยรัชกาลที่ 2 "จอห์น ครอว์เฟิร์ด" (John Crawfurd) ผู้สำเร็จราชการสิงคโปร์นำเรื่องสำคัญมาแจ้งแก่ไทย เรื่องมีอยู่ว่า "พระเจ้าจัก...
ตามรอย 5 ชุมชนใหญ่ของญวนในบางกอก. มาจากไหน? มาอย่างไร?
เอ็ดวาร์ด แวน รอย สืบเสาะประวัติศาสตร์คนหลายชาติพันธุ์ในกรุงเทพฯ หรือบางกอก แล้วเรียบเรียงเป็นผลงานชื่อ “Siam Melting Pot” ซึ่งสำนักพิมพ์มติชนจัดพิมพ์...
ฝรั่ง(เศส)ชี้ชาวสยาม “ใจกว้าง เอื้อเฟื้อ ง่ายๆ ไม่หยิ่ง” ส่วนญวนใจร้อน-เจ้าคิดเจ...
“พ่อค้าชาวจีนส่วนมากชอบสูบฝิ่นและเล่นการพนัน ในขณะที่ชาวญวนคริสตังโดยทั่วไปประพฤติตัวดีกว่า และมีบุคลิกตรงข้ามกับชาวสยาม ชาวสยามดูเป็นคนเฉื่อยเนือย เก...
กลรบเจ้าพระยาบดินทร์ หลอกญวนระหว่างถอยทัพโดยวิธีอันแยบคาย
เวลาท่านไปสำเพ็ง หากมีโอกาสก็ควรแวะเข้าไปกราบรูปหล่อเจ้าพระยาบดินทรเดชา (สิงห์ สิงหเสนี) แม่ทัพใหญ่สมัยรัชกาลที่ 3 ในวัดจักรวรรดิ์หรือวัดสามปลื้ม สักค...
การเผยแพร่ “ศาสนาคริสต์” ในอีสาน สู่จุดกำเนิดชุมชนคาทอลิกแห่งบ้านท่าแร่...
การเผยแพร่ศาสนาคริสต์นิกายโรมันคาทอริกแถบอีสานในประเทศไทยช่วง พ.ศ. 2110-2427
การเข้ามาเผยแพร่ศาสนาคริสต์นิกายโรมันคาทอลิกในประเทศไทย ปรากฏหลักฐานว่าเ...
รัชกาลที่ 4 กับความคับแค้นพระราชหฤทัยที่ทรงมีต่อชาตินักล่าอาณานิคม
ข้อความตอนหนึ่งในพระราชหัตถเลขาในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 4 ที่ทรงมีถึงพระยาสุรวงศ์ไวยวัฒน์ (วร บุนนาค) ราชทูตสยามที่เดินทางไปเฝ้า...
บ้านญวนสามเสนแหล่งสุราเถื่อนที่มีขุนนางคอยหนุน รัฐสมัยร.5 ปราบอย่างไร?
ระบบควบคุมกำลังคน ซึ่งมีมูลนายและกรมกองต่างๆ จัดการดูแลไพร่พลในสังกัด รัฐจารีตได้ใช้ระบบดังกล่าวในการปกครองและได้ประโยชน์ทั้งความมั่นคงของรัฐ อำนาจทาง...