เว็บไซต์นี้ใช้คุ้กกี้เพื่อสร้างประสบการณ์ที่ดีมีประสิทธิภาพยิ่งขี้น อ่านเพิ่มเติมคลิก (Privacy Policy) และ (Cookies Policy)
วันศุกร์ที่ 29 มีนาคม พ.ศ.2567
หน้าแรก แท็ก งานศพ

แท็ก: งานศพ

เงินปากผี เงินใส่ปากผี ภาพยนตร์

“เงินใส่ปากผี” มีไว้เพื่ออะไร ทั้งที่ “คนตาย” ก็เอาไปใช้ในปรโลกไม่ได้?

“เงินปากผี” หรือ “เงินใส่ปากผี” เป็นพิธีกรรมหนึ่งที่อยู่ในพิธี “การปลงศพ” และอยู่ร่วมกับวิถีชีวิตของคนไทยมานาน ตั้งแต่โบราณกาล แต่เคยสงสัยไหมว่า ทำไมค...
ภาพเขียน พิธีสตี พิธีกรรม ประเพณี ใน อินเดีย

สตี พิธีเผาภรรยาม่ายทั้งเป็นพร้อมศพสามีที่เสียชีวิต

ข่าวแพร่สะพัดไปทั่วอินเดีย เมื่อวันที่ 4 กันยายน 2530 ว่ามีการประกอบยัชญพิธีที่เรียกว่า “พิธีสตี” ในหมู่บ้านเดโอราลา อำเภอสิการ์ รัฐราชาสถาน อินเดีย ...
โลงศพอีสาน หีบศพอีสาน

โลงศพ-หีบศพอีสาน กับคติความเชื่อการทำโลงศพของชาวอีสาน อัตลักษณ์เชิงช่างสกุลไท-ลา...

หนึ่งในงานช่างพื้นถิ่นอีสานด้านหัตถกรรมไม้ ที่หลายคนมองข้ามและนึกไม่ถึง ถึงเอกลักษณ์ที่แปลกแตกต่างจากภาคอื่น ๆ นั่นก็คือ โลงศพอีสาน หรือ หีบศพอีสาน ซึ...
ชูชก เผาศพ เผาผี

ขุนกะเฬวราก-นายป่าช้า ที่รัฐบาลแต่งตั้งให้ทำหน้าที่ผู้ดูแลจัดการศพ

“ขุนกะเฬวราก” คือ "นายป่าช้า” หรือที่รู้จักกันทั่วไปว่า “สัปเหร่อ” ทำหน้าที่เป็นผู้ดูแลและควบคุมการปลงซากศพที่ราษฎรนำมาประกอบพิธีกรรม รวมไปถึงศพคนไร้ญ...
พิธีเคลื่อนศพ งานศพ งันเฮือนดี

“งันเฮือนดี” งานศพคนอีสานที่ไม่โศกเศร้า จัดเต็มความม่วนกุ๊บ พร้อมสีสันแสนสดใส ไม...

เมื่อพูดถึง “งานศพ” หลายคนคงนึกถึงบรรยากาศอันอึมขรึม โศกเศร้า เต็มไปด้วยผู้คนในชุดดำ ทว่าหากย้อนไปในแถบอีสานสมัยก่อน “งานศพ” หรือที่เรียกว่า “งันเฮือน...
หญิงชาย ร่วมเพศ

ธรรมเนียม “เซ็กส์ในงานศพ” มีอยู่จริง ทำไมปรากฏกิจกรรมนี้ในบางวัฒนธรรม?...

ธรรมเนียม "เซ็กส์ในงานศพ" มีอยู่จริง ทำไมปรากฏกิจกรรมนี้ในบางวัฒนธรรม? โดยทั่วไปแล้วกิจกรรมที่ว่าด้วยการร่วมเพศมักเกิดขึ้นในพื้นที่ส่วนตัวหรือพื้นท...
ชูชก เผาศพ เผาผี

ชาวบ้าน “เผาผี” กันอย่างไร? ทำไมพก “มีดปาดหมาก” ไม่มี “ดอกไม้จันทน์”...

เก็บเอาเรื่อง "เผาผี" อย่างที่เคยเห็นมาเมื่อตอนเด็กมาเล่าไว้ เพราะนับแต่ผู้เขียนคล้อยหลังจากบ้านเกิดมาเพียง 20 ปี การเผาผีอย่างที่เคยรู้มาก็ไม่มีให้เห...

พิธีศพของชาวอีสานในอดีต วิธีรักษาศพ-เก็บกระดูก เขาทำกันอย่างไร

จากความทรงจำของ ดร. ก่อ สวัสดิ์พาณิชย์* ได้อธิบาย "พิธีศพ" ของชาวอีสานในอดีตผ่านหนังสือ "อีสานเมื่อวันวาน" (จิรัชการพิมพ์, 2546) โดยอธิบาย "พิธีศพ" ไว...
ลอยอังคาร

ที่มา “พิธีลอยอังคาร” ลอยทำไม เหตุใดเรียกเถ้ากระดูกว่า “อังคาร” ?...

"ลอยอังคาร" คือพิธีกรรมที่ญาติมิตรของผู้วายชนม์ปฏิบัติเพื่อเป็นการส่งดวงวิญญาณ โดยเชื่อว่าเป็นส่วนหนึ่งในการส่งให้ผู้ล่วงลับไปสู่ภพภูมิที่ดีและมีความส...

สีไว้ทุกข์ในสมัยรัชกาลที่ 5 ไม่ได้มีแค่ขาวกับดำ

การไว้ทุกข์ในสมัยก่อนนั้นมีอยู่หลายอย่างต่างชนิด คือ 1. สีดำ สำหรับผู้ใหญ่หรือผู้ที่มีอายุแก่กว่าผู้ตาย 2. สีขาว สำหรับผู้เยาว์หรือผู้ที่มีอายุอ่อ...

จัดงานฌาปนกิจศพ หลัง “ตาย” ไป 80 กว่าปี

ยืนยันว่าเขียนไม่ผิด อ่านไม่ผิด และไม่ใช่ข่าวขายพาดหัวแต่ประการใด เพราะ “เขา” ถึงแก่กรรมเมื่อวันที่ 29 เมษายน พ.ศ. 2444 หลังจากนั้นศพสูญหายไปถึง 82 ปี...

การรับ-ปรับวัฒนธรรม “พวงหรีด” จากตะวันตกสู่ไทย แพร่หลายเข้าสู่สยามเมื่อใด?...

คนไทยคุ้นชินกับ "พวงหรีด" ว่าใช้เป็นสิ่งแสดงความเคารพต่อผู้เสียชีวิตในงานศพ สอดคล้องกับที่ราชบัณฑิตยสถานให้ความหมายของ "พวงหรีด" ว่า "ดอกไม้ที่จัดแต่ง...

ติดตามเรา

เรื่องเด่น