แท็ก: คำเขมร
คำว่า “โยม” มาจากไหน? เหตุใดพระสงฆ์จึงเรียกฆราวาสว่า “โยม”...
คำว่า โยม พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2554 ให้ความหมายว่า "โยม น. คำที่พระสงฆ์ใช้เรียกบิดามารดาของตน หรือเรียกผู้ใหญ่รุ่นราวคราวเดียวกับบิดามารด...
“สรง” ใน สรงน้ำพระ คำจากภาษาเขมร
“สรง” ใน สรงน้ำ สรงน้ำพระ เป็นคำยืมมาใช้จาก “ภาษาเขมร”
คำว่า “สรง” เป็นคำกริยา หมายถึง อาบน้ำ รดน้ำ ประพรม สำหรับใช้กับพระสงฆ์หรือเจ้านาย เช่น สรงพ...
คำว่า “เขมร” มาจากไหน เมื่อใดจึงเป็นเขมร-ขแมร์ ?
คำว่า “เขมร” ที่คนไทยใช้เรียกผู้คนและประเทศ “กัมพูชา” กันอย่างติดปากนั้น มีที่มาหรือเก่าแก่แค่ไหน อนึ่ง ชาวกัมพูชาซึ่งเรียกตนเองว่า “แขฺมร” หรือ ขแมร์...
“จำวัด-จำพรรษา-จำศีล” ทำไมต้องจำ “จำ” คำเขมรที่ยืมมาใช้ในภาษาไทย
พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน อธิบายคำว่า “จำ” ไว้ใน 4 ความหมายด้วยคือ (1) ก. กำหนดไว้ในใจ, ระลึกได้ (2) ก. ลงโทษด้วยวิธีเอาโซ่ตรวนล่ามไว้ เช่น จำโซ่ จ...
เปิดราก “บัดสี-บัดเถลิง-บัดซบ” 3 คำนี้มาจากไหน ไม่ใช่คำไทยแท้หรอกหรือ?
“บัดสี-บัดเถลิง-บัดซบ” เมื่อมีคนอุทานถึง 3 คำนี้ คงเข้าใจได้ทันทีว่าผู้พูดน่าจะหมายถึงเรื่องน่าอาย ไม่เหมาะสม ประสบเหตุโชคร้ายหรือชีวิตไม่เป็นไปดังหวั...
เปิดข้อสันนิษฐาน คำ “เขมร” ในชื่อบ้านนามเมืองแดน “ปักษ์ใต้”...
วารสาร “ศิลปวัฒนธรรม” ฉบับที่ 7 พฤษภาคม 2539 เรื่อง “ชื่อทางใต้ในภาษามลายู” โดย ประพนธ์ เรืองณรงค์
ผู้เขียนขอค้านบางตำบลที่ผู้เขียนเห็นว่าไม่ใช่ภาษ...