เว็บไซต์นี้ใช้คุ้กกี้เพื่อสร้างประสบการณ์ที่ดีมีประสิทธิภาพยิ่งขี้น อ่านเพิ่มเติมคลิก (Privacy Policy) และ (Cookies Policy)
วันอังคารที่ 15 ตุลาคม พ.ศ.2567
หน้าแรก แท็ก ความเชื่อ

แท็ก: ความเชื่อ

แมว ผีกะ ผีกละ

ผีกะ ผีถิ่นเหนือ ใครไม่อยากเป็นแล้ว แค่เอาน้ำลายไปป้ายปาก “แมว” ?

“ผีกะ” (ผีกละ) เป็นผีในพื้นถิ่น “ภาคเหนือ” ที่อยู่ร่วมกับความเชื่อ สังคม และวัฒนธรรมของชาวบ้านเป็นระยะเวลานาน การสืบทอด “ผีกะ” มักสืบทอดจากทาง ฝั่งแม่...
ผีกะ ผี ภาคเหนือ ในละคร วิญญาณแพศยา ช่อง 8

เจาะลึกเรื่องหลอน “ผีกะ” ผีพื้นบ้านภาคเหนือ มีที่มาอย่างไร เลี้ยงแบบไหน ใช้วิธีใ...

เมื่อพูดถึงเรื่อง “ผี” ประจำถิ่น หลายคนคงจะนึกถึง ผีปอบ ผีกระสือ ผีกระหัง ผีแม่นาค ฯลฯ แต่มีผีอีกชนิดหนึ่ง ที่มีเรื่องราวน่าสนใจ ทั้งยังเป็น ผี ชนิดเด...
นาค ปลายสะพาน นาคราช สมัย นครวัด ที ปราสาทพนมรุ้ง

นาคี นาคา ฉบับวาไรตี้ และเกร็ดความแตกต่างของนาคแต่ละจุดที่ปราสาทพนมรุ้ง

นาคี นาคา ฉบับวาไรตี้ และเกร็ดความแตกต่างของ นาค แต่ละจุดที่ "ปราสาทพนมรุ้ง" ผู้เขียนเคยทำงานที่อุทยานประวัติศาสตร์พนมรุ้ง จังหวัดบุรีรัมย์ 2 คราว ...
เหี้ย ตัวเงินตัวทอง

อะไรเป็นเหตุให้คนไทย รังเกียจ “เหี้ย” !?!

เหตุไฉน คนไทย จึงต้องตั้งข้อรังเกียจ "เหี้ย" นักหนา ถึงขนาดหากมันเข้าหรือขึ้นไปเพ่นพ่านที่เรือนชานใคร โบราณท่านว่าเป็นอัปมงคลร้ายกาจ ถึงกับต้องทำบุญเล...
ภาพเขียนสี บน ผาหินฮวานซาน หรือ ผาลาย มี สีแดง

“สีแดง” ในวัฒนธรรมนานาชาติ ที่ไม่ได้สื่อความหมาย “มงคล” เสมอไป

“สีแดง” ในวัฒนธรรมนานาชาติ ที่ไม่ได้สื่อความหมาย “มงคล” เสมอไป “สีแดง” ในภาษากรีกโบราณคือ Erythros เป็นรากศัพท์ของคำว่า “Blood” (เลือด) ซึ่งสีแดงก็...

“ฮิจรา – กะเทยอินเดีย” ทำไมถึงมีวาจาอันศักดิ์สิทธิ์ในการสาปแช่ง?

กะเทย หรือ ฮิจรา (Hijra) ในวัฒนธรรม "อินเดีย" คำนี้เป็นภาษาอูรดู ภาษาถิ่นของทางอินเดียเหนือ ภาษาฮินดีได้ยืมคำนี้มาใช้เรียกคนข้ามเพศหรือเพศที่สาม บุคคล...
ผีนัต นัต พม่า

สำรวจความเชื่อ “นัต” ระบบผีท้องถิ่นนิยมในเมียนมา ที่พุทธศาสนาเอาชนะไม่ได้...

หากเปรียบร้านน้ำชาและร้านขายหมากพลูกับศาลนัต (Nat) ในเมืองพม่า จะมีความเหมือนกันอยู่อย่างหนึ่งคือ มีให้เห็นได้ทั่วทุกช่วงถนน ตั้งแต่หัวไร่ปลายนาชายป่า...
ฝังคนทั้งเป็น ความเชื่อ ชาวสยาม รักษาบ้านเมือง

“ฝังคนทั้งเป็น” ตำนานสยองของไทยในบันทึกฝรั่ง

เรื่องการ “ฝังคนทั้งเป็น” ใน "กำแพงเมือง" ก็ดี "ศาลหลักเมือง" ก็ดี หรือสิ่งก่อสร้างขนาดใหญ่ต่างๆ เพื่อหวังให้วิญญาณผู้ตาย เฝ้ารักษาบ้านเมือง หรือสิ่งก...
กรมหลวงชุมพรเขตอุดมศักดิ์ เสด็จเตี่ย หมอพร

พระอุปนิสัย-พระจริยวัตรของ “กรมหลวงชุมพรฯ” ที่คนเคารพนับถือ และแง่ความศักดิ์สิทธ...

กรมหลวงชุมพรเขตอุดมศักดิ์ เจ้านายที่ผู้คนนับถือในพระจริยวัตร และในแง่ความศักดิ์สิทธิ์ “---คนนับถือกรมหลวงชุมพรฯ เยอะ แต่คนไม่สนใจท่านในฐานะปุถุชน ค...
เจว็ด เทวดาถือพระขรรค์ พระภูมิ

“เจว็ด” หรือ พระภูมิ รูปเคารพแทนเทพแบบไทย ๆ

คําว่า เจว็ด แปลความตามพจนานุกรมว่า รูปเทวดาถือพระขรรค์ หรือผู้ได้รับการยกย่องให้เป็นใหญ่แต่ไร้อำนาจ หากเนื้อแท้ตามที่ชาวบ้านเข้าใจย่อมหมายถึงสิ่งอันพ...
ผู้หญิง สยาม

ส่อง “ตำรานรลักษณ์” สาวมีไฝใต้หน้าอก-ที่ลับ เหมาะกับชายรับเป็นภรรยา?

ส่อง “ตำรานรลักษณ์” สาวมีไฝใต้หน้าอก-ที่ลับ เหมาะกับชายรับเป็นภรรยา? ตำราดูลักษณะคนมีอยู่แพร่หลายไปทั่วทั้งตะวันตกและตะวันออก แต่ตอนนี้ศาสตร์ที่ว่า...
ตำนาน นิทาน กำเนิด คน ตระกูลไท-ลาว จาก น้ำเต้า หรือ น้ำเต้าปุง

ตำนานอัศจรรย์ การกำเนิดคนจาก “น้ำเต้า” ของกลุ่มชนตระกูลไท-ลาว

“บรรพชนสองฝั่งโขงมีกำเนิดจากน้ำเต้าปุง” (‘ปุง’ คือ ใหญ่, หลวง) ถือเป็นตำนานคำบอกเล่าเก่าแก่ และอยู่ในความทรงจำของกลุ่มชน ตระกูลไท-ลาว ที่มีหลักแหล่งบร...

ติดตามเรา

เรื่องเด่น