เว็บไซต์นี้ใช้คุ้กกี้เพื่อสร้างประสบการณ์ที่ดีมีประสิทธิภาพยิ่งขี้น อ่านเพิ่มเติมคลิก (Privacy Policy) และ (Cookies Policy)
วันเสาร์ที่ 22 มีนาคม พ.ศ.2568
หน้าแรก แท็ก ความเชื่อ

แท็ก: ความเชื่อ

ว่านจักจั่น

“ว่านจักจั่น” ซากสัตว์ขึ้นรา ถูกสถาปนาเป็นวัตถุมงคล!?

คนโบราณเชื่อว่า “ว่านจักจั่น” หนือพญาว่านต่อเงินต่อทอง เป็นว่านกึ่งพืชกึ่งสัตว์ ประเภทเดียวกับ “มักกะลีผล” หรือนารีผล มีต้นอยู่บนดิน รากอยู่ใต้ดิน แต่...
สมุดไทย สมุดข่อย คำทำนายสัตว์ตก อุบาทว์ 8

“คำทำนายสัตว์ตก” หนึ่งใน “อุบาทว์ 8” ลางบอกเหตุดี-ร้ายจากสมุดไทยโบราณ

ตำราโบราณของไทยมีสิ่งที่เรียกว่า “คำทำนายสัตว์ตก” จากการร่วงหล่นของสัตว์จากที่สูง อันเป็นลางบอกเหตุดีเหตุร้ายต่าง ๆ และเป็นส่วนหนึ่งของ “อภิไทโพธิบาทว...
(ซ้าย) ท้าววหิรัญพนาสูร ศาลหลังโรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้า (ขวา) พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ตำนานท้าวหิรัญพนาสูร

ตำนานความเฮี้ยน ท้าวหิรัญพนาสูร “ผีทรงเลี้ยง” ในรัชกาลที่ 6

ตำนานท้าวหิรัญพนาสูร ความเฮี้ยนของผีทรงเลี้ยง ในรัชกาลที่ 6 ตำนานของ “ท้าวหิรัญพนาสูร” อสูรที่ถวายตัวรับใช้พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกา...
ขุนแผน ประกอบ หุ่นพยนต์

“หุ่นพยนต์” มนตราแห่ง “ขุนช้างขุนแผน” ศาสตร์ไม้เด็ดเปลี่ยนหุ่นหญ้าเป็นกองทัพสุด ...

“หุ่นพยนต์” หมายถึง “รูปที่ผู้ทรงวิทยาคมเอาวัตถุมาผูกขึ้นแล้วเสกเป่าให้เป็นเหมือนรูปที่มีชีวิต” โดยคำว่า พยนต์ (อ่านว่าพะยน) หมายถึง “สิ่งที่ผู้ทรงวิท...
ใบกะเพรา

ไทยใช้ “กะเพรา” มากินเอร็ดอร่อย ทำไม “กะเพรา” ใน (ฮินดู) อินเดียคือพืชศักดิ์สิทธ...

กะเพรา (Holy basil) เป็นพืชล้มลุกที่ปลูกง่าย มีกลิ่นฉุนเป็นเอกลักษณ์ ลำต้นมีกิ่งก้านสาขามากมาย และเป็นสมุนไพรที่มีคุณสมบัติช่วยขับลม เช่นเดียวกันกับโห...
พญานาค

เปิด 4 ตระกูลใหญ่ของ “พญานาค” มีอะไรบ้าง แตกต่างกันอย่างไร?

“พญานาค” เป็นอมนุษย์ที่ปรากฏอยู่ในวรรณคดีไทยมากมาย มีความเชื่อว่าสามารถแปลงกายเป็นมนุษย์ได้ (ยกเว้นเพียงตอนเกิด ตาย นอนหลับ ร่วมเพศ และเวลาลอกคราบ) ทั...
ประติมากรรม วารุณีเทวี สุราเทวี

“วารุณี” หรือสุราเทวี เทพีแห่งสุรา ชายาพระวรุณ

ทัศนะต่อ “สุรา” หรือเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ทั้งหลายของผู้คนแปรเปลี่ยนไปตามกาลสมัย แต่ในอดีต สังคมฮินดูเคยยกย่องสุราถึงขนาดมีเทวีประจำสิ่งมึนเมานี้ นั่นคื...
เห้งเจีย ไซอิ๋ว

เห้งเจีย ลิงในนิยายไซอิ๋ว กลายเป็นเทพที่คนจีนกราบไหว้ และแพร่เข้าไทยได้อย่างไร

เห้งเจีย เป็นตัวละครหนึ่งใน "ไซอิ๋ว" เท่านั้น แต่ปัจจุบันตัวละครนี้เสมือนมีตัวตนดำรงอยู่ในโลกความเป็นจริง และเป็นที่เคารพของกลุ่มคน แต่ก่อนที่จะกล่าวถ...
พระแม่โพสพ

“แม่โพสพ” ชื่อเทวดาหญิงผู้ดูแลข้าว มาจากไหน แท้จริงคือท้าวเวสสุวรรณ?

“แม่โพสพ” ถือเป็นเทวดาหญิงที่มีความสำคัญกับการทำนาของไทยอย่างมาก เพราะชาวนาเชื่อว่าท่านเป็นผู้ปกปักรักษาดูแลให้ผลผลิตเจริญงอกงามอุดมสมบูรณ์ จนเกิดวลีท...
ข้าว เกี่ยวข้าว

ตำนานความเชื่อเรื่อง “ข้าว” ค้นต้นตอของวลี “อย่าทานข้าวเหลือ แม่โพสพจะเสียใจ”...

ตำนานความเชื่อเรื่อง "ข้าว" ค้นต้นตอของวลี "อย่าทานข้าวเหลือ แม่โพสพจะเสียใจ" สังคมไทยเป็นสังคมเกษตรกรรม วิถีชีวิตชาวบ้านไทยผูกพันอยู่กับการทำนาปลูกข...
ภาพวาด กวนอู เทพและสิ่งศักดิ์สิทธิ์ของจีน

พัฒนาการ เทพและสิ่งศักดิ์สิทธิ์ของจีน จากเทพฟ้าดิน สู่การแปรเปลี่ยนตามสมัย-ความเ...

เทพและสิ่งศักดิ์สิทธิ์ของจีน มีที่มาจากความเคารพธรรมชาติ และความกตัญญูต่อบรรพชนของคนจีน ดังนั้นจึงมีที่มา และประเภทหลากหลาย ในบทความ "เทพ สิ่งศักดิ์สิ...
เฟรยา freya ลากเลื่อน ลากจูง ด้วย แมว

แมวในอารยธรรมโบราณ แรกเริ่มมนุษย์ปฏิสัมพันธ์กับแมว สู่ความเชื่อในแต่ละสังคม

แมว เป็นสัตว์ที่อยู่คู่กับมนุษย์ยาวนานนับหมื่นปี แมวในอดีตมีลักษณะรูปร่างหน้าตาแตกต่างจากแมวปัจจุบัน เพราะก่อนที่มนุษย์จะนำแมวมาเลี้ยงนั้น แมวก็ถือว่า...

ติดตามเรา

เรื่องเด่น