เว็บไซต์นี้ใช้คุ้กกี้เพื่อสร้างประสบการณ์ที่ดีมีประสิทธิภาพยิ่งขี้น อ่านเพิ่มเติมคลิก (Privacy Policy) และ (Cookies Policy)
วันศุกร์ที่ 17 มกราคม พ.ศ.2568
หน้าแรก แท็ก ความเชื่อ

แท็ก: ความเชื่อ

มอญซ่อนผ้า รำผีมอญ มอญ ชาวมอญ

“มอญซ่อนผ้า” ไม่ใช่การละเล่นของมอญ?

"มอญซ่อนผ้า" แท้จริงแล้วไม่ใช่การละเล่นของ "ชาวมอญ" ? "มอญซ่อนผ้า ตุ๊กตาอยู่ข้างหลัง ใครเผลอไม่คอยระวัง ตุ๊กตาอยู่ข้างหลังระวังจะถูกตี..." เสียงเพลง...
สัญลักษณ์ หน้าผาก พราหมณ์ พราหมณ์วามน

“สัญลักษณ์” ที่เจิมบนหน้าผากพราหมณ์ คืออะไร?

ซีรีส์ “แม่หยัว” ตอนแรกที่ออกอากาศไปเมื่อ 24 ตุลาคม 2567 ที่ผ่านมา เป็นอีกหนึ่งละครไทยที่ปลุกกระแสความสนใจประวัติศาสตร์และวัฒนธรรมขึ้นมาอีกครั้ง อย่าง...
ฟ้อนผีมด ฟ้อนผี

“ฟ้อนผีมด” พิธีไหว้ผีบรรพบุรุษในภาคเหนือ

“ฟ้อนผีมด” เป็นพิธีกรรมบวงสรวงผีบรรพบุรุษในภาคเหนือ เรียกอย่างย่อว่า “ฟ้อนผี” และมีฟ้อนผีอีกชนิดหนึ่งว่า “ฟ้อนผีเม็ง”  ฟ้อนผีมดผีเม็ง สันนิษฐานว่า ไม...
หมอธรรม สมศักดิ์ บัวเลิง จังหวัดร้อยเอ็ด หมอพื้นบ้าน

หมอธรรม : กิตติศัพท์ที่ผีต้องขยาด! ในชุมชนอีสาน

หมอธรรม : กิตติศัพท์ที่ผีต้องขยาด! ในชุมชนอีสาน สังคมอีสานมี หมอพื้นบ้าน ซึ่งในหลายพื้นที่มีแยกย่อยประเภทลงไป เช่น "หมอธรรม" ในชุมชนอยู่มากมาย คุณสมบ...
ว่านจักจั่น

“ว่านจักจั่น” ซากสัตว์ขึ้นรา ถูกสถาปนาเป็นวัตถุมงคล!?

คนโบราณเชื่อว่า “ว่านจักจั่น” หนือพญาว่านต่อเงินต่อทอง เป็นว่านกึ่งพืชกึ่งสัตว์ ประเภทเดียวกับ “มักกะลีผล” หรือนารีผล มีต้นอยู่บนดิน รากอยู่ใต้ดิน แต่...
สมุดไทย สมุดข่อย คำทำนายสัตว์ตก อุบาทว์ 8

“คำทำนายสัตว์ตก” หนึ่งใน “อุบาทว์ 8” ลางบอกเหตุดี-ร้ายจากสมุดไทยโบราณ

ตำราโบราณของไทยมีสิ่งที่เรียกว่า “คำทำนายสัตว์ตก” จากการร่วงหล่นของสัตว์จากที่สูง อันเป็นลางบอกเหตุดีเหตุร้ายต่าง ๆ และเป็นส่วนหนึ่งของ “อภิไทโพธิบาทว...
(ซ้าย) ท้าววหิรัญพนาสูร ศาลหลังโรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้า (ขวา) พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว

ตำนานความเฮี้ยน ท้าวหิรัญพนาสูร “ผีทรงเลี้ยง” ในรัชกาลที่ 6

ตำนานของ “ท้าวหิรัญพนาสูร” อสูรที่ถวายตัวรับใช้พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 6 จนได้กลายเป็น “ผีทรงเลี้ยง” ถือเป็นเรื่องราวที่เล่าขาน...
ขุนแผน ประกอบ หุ่นพยนต์

“หุ่นพยนต์” มนตราแห่ง “ขุนช้างขุนแผน” ศาสตร์ไม้เด็ดเปลี่ยนหุ่นหญ้าเป็นกองทัพสุด ...

“หุ่นพยนต์” หมายถึง “รูปที่ผู้ทรงวิทยาคมเอาวัตถุมาผูกขึ้นแล้วเสกเป่าให้เป็นเหมือนรูปที่มีชีวิต” โดยคำว่า พยนต์ (อ่านว่าพะยน) หมายถึง “สิ่งที่ผู้ทรงวิท...
ใบกะเพรา

ไทยใช้ “กะเพรา” มากินเอร็ดอร่อย ทำไม “กะเพรา” ใน (ฮินดู) อินเดียคือพืชศักดิ์สิทธ...

กะเพรา (Holy basil) เป็นพืชล้มลุกที่ปลูกง่าย มีกลิ่นฉุนเป็นเอกลักษณ์ ลำต้นมีกิ่งก้านสาขามากมาย และเป็นสมุนไพรที่มีคุณสมบัติช่วยขับลม เช่นเดียวกันกับโห...
พญานาค

เปิด 4 ตระกูลใหญ่ของ “พญานาค” มีอะไรบ้าง แตกต่างกันอย่างไร?

“พญานาค” เป็นอมนุษย์ที่ปรากฏอยู่ในวรรณคดีไทยมากมาย มีความเชื่อว่าสามารถแปลงกายเป็นมนุษย์ได้ (ยกเว้นเพียงตอนเกิด ตาย นอนหลับ ร่วมเพศ และเวลาลอกคราบ) ทั...
ประติมากรรม วารุณีเทวี สุราเทวี

“วารุณี” หรือสุราเทวี เทพีแห่งสุรา ชายาพระวรุณ

ทัศนะต่อ “สุรา” หรือเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ทั้งหลายของผู้คนแปรเปลี่ยนไปตามกาลสมัย แต่ในอดีต สังคมฮินดูเคยยกย่องสุราถึงขนาดมีเทวีประจำสิ่งมึนเมานี้ นั่นคื...
เห้งเจีย ไซอิ๋ว

เห้งเจีย ลิงในนิยายไซอิ๋ว กลายเป็นเทพที่คนจีนกราบไหว้ และแพร่เข้าไทยได้อย่างไร

เห้งเจีย เป็นตัวละครหนึ่งใน "ไซอิ๋ว" เท่านั้น แต่ปัจจุบันตัวละครนี้เสมือนมีตัวตนดำรงอยู่ในโลกความเป็นจริง และเป็นที่เคารพของกลุ่มคน แต่ก่อนที่จะกล่าวถ...

ติดตามเรา

เรื่องเด่น