เว็บไซต์นี้ใช้คุ้กกี้เพื่อสร้างประสบการณ์ที่ดีมีประสิทธิภาพยิ่งขี้น อ่านเพิ่มเติมคลิก (Privacy Policy) และ (Cookies Policy)
วันอังคารที่ 23 เมษายน พ.ศ.2567
หน้าแรก แท็ก คณะราษฎร

แท็ก: คณะราษฎร

พระยาพหลฯ-คณะราษฎร มาทำอะไรที่ “วัดแคนอก” ก่อนปฏิวัติ 2475

บทนำ หากย้อนไปในเวลาเช้าตรู่ของวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2475 ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้เกิดเหตุการณ์สำคัญในประวัติศาสตร์การเมือง...

นัยจากความหมายของคำว่า “ราษฎร” ภาษาการเมืองในยุคสมัยการปฏิวัติสยาม

ในช่วง “รอยต่อ” ระหว่างสมัยรัฐสมบูรณาญาสิทธิราชย์กับสมัยแรกเริ่มรัฐประชาชาติ คำว่า “ราษฎร” หาได้เป็นเพียงคำธรรมดาๆ ที่ใช้เรียกแทนชนชาวสยามเท่านั้น ทั้...

ความขัดแย้งสำคัญ 3 ช่วงในคณะราษฎร จนถึงการปิดฉากคณะราษฎร

ความขัดแย้งภายในคณะราษฎรพอจะจำแนกครั้งสำคัญอยู่ 3 ช่วงเหตุการณ์ คือ 1. การนำเสนอเค้าโครงการเศรษฐกิจ พ.ศ. 2476 ถึงกบฏกรมขุนชัยนาทนเรนทร พ.ศ. 2481 2. สง...

วาทะ ม.ร.ว.คึกฤทธิ์ เมื่อทุบ “ศาลาเฉลิมไทย” มอง “สถาปัตยกรรมคณะราษฎร” ต่ำทราม...

ถนนราชดำเนินเป็นถนนสายสำคัญของกรุงเทพฯ เป็นถนนสายประวัติศาสตร์ของชาติที่สะท้อนเรื่องราวผ่านงานศิลปะด้านสถาปัตยกรรมมาตลอดหลายช่วงสมัย อำนาจทางการเมืองท...

“น้ำตาลไม่หวาน” ของคณะราษฎร : การร่วมทุนธุรกิจ ระหว่างรัฐบาลคณะราษฎรและเอกชน...

เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475 มีความเคลื่อนไหวขอตั้งโรงงานน้ำตาลอย่างต่อเนื่อง ปรากฏในวันที่ 31 ตุลาคม พ.ศ. 2475 โดยบุคคลในคณะราษฎรคือ นายม...

อุปสรรคที่ทำให้ “คณะราษฎร” แก้ปัญหาเศรษฐกิจตกต่ำในทศวรรษ 2470 ได้อย่างจำกัด

การเปลี่ยนแปลงการปกครองในปี 2475 ท่ามกลางเศรษฐกิจตกต่ำในทศวรรษ 2470 ซึ่งนำโดยคณะทหารและพลเรือนนั้น มีความคาดหวังว่า “คณะราษฎร” จะนำอุดมการณ์ทางเศรษฐกิ...

ผ่าเหตุเบื้องหลังคณะราษฎรเปลี่ยนระเบียบ “ประหารชีวิตนักโทษ” หลังปฏิวัติ 2475...

การเปลี่ยนแปลงระเบียบการประหารชีวิตนักโทษหลังการปฏิวัติสยาม 2475 ...หลังการปฏิวัติสยามเรื่องการประหารชีวิตนักโทษได้ถูกหยิบมาพิจารณาในหมู่ชนชั้นนำ เมื...

สมเด็จครูและพระพรหมพิจิตร การปะทะผลงานระหว่างศิษย์กับครู ในวงการสถาปัตยกรรมไทย

บทนำ มีนักวิชาการ นักเขียนหลายท่านวิจารณ์ถึงผลงานฝีพระหัตถ์ของสมเด็จเจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์ หรือบรรดาช่างไทยให้พระนามว่า “สมเด็จครู” (ภาพท...

ร.ท.จงกล ไกรฤกษ์ ส่งจดหมายขอร่วมงานคณะราษฎรหลังปฏิวัติ ไฉนปีต่อมาเข้ากับกบฏบวรเด...

"เวลาเปลี่ยน คนเปลี่ยน" เป็นวลีติดปากที่มักพูดกันมาเสมอ แน่นอนว่าคนเรามีหลากหลาย มีบ้างที่ไม่ได้เป็นเช่นนั้น แต่ก็มีบ้างที่จะพบเห็นลักษณะของบุคคลตามวล...

กำเนิด “โรงเรียนดัดสันดาน” สมัยรัชกาลที่ 5 สำหรับเด็กที่ทำผิดกฎหมาย

ในรัชกาลของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว มีการบำรุงบ้านเมืองและราษฎรไปสู่ความเจริญรุ่งเรือง ดังจะเห็นได้จากการสร้างกลไกและองค์กรใหม่ๆ ขึ้นมารั...

คณะราษฎร VS คณะชาติ ดูเบื้องหลังความขัดแย้งระยะเริ่มปชต. จนคนมองการเมืองน่ารังเก...

ภายหลังเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475 สภาพการเมืองไทยเปลี่ยนแปลงไปอย่างมาก แต่ในช่วงแรกเริ่มของยุคประชาธิปไตยนั้นก็ไม่อาจหลีกเลี่ยงความขัดแย้งได้ เมื่...

เบื้องหลัง “ชาวไทยมุสลิม” ในเหตุการณ์เปลี่ยนแปลงการปกครอง 2475

ชาวไทยมุสลิมที่ได้เข้าร่วมในการเปลี่ยนแปลงการปกครองเมื่อวันที่ 24 มิถุนายน 2475 ได้แก่ นายบรรจง ศรีจรูญ นายแช่ม พรหมยงค์ นายประเสริฐ ศรีจรูญ และ นายกา...

ติดตามเรา

เรื่องเด่น