แท็ก: ขุนนาง
ซือหม่าเชียน ผู้บันทึกประวัติศาสตร์ 3,000 ปีของจีน โดนตอน มาเป็นเจ้ากรมขันทีได้อ...
ในบรรดาผู้จดบันทึกประวัติศาสตร์ที่มีชื่อเสียงในตะวันออก ดินแดนมังกรจดจำชื่อบุคคลอย่าง ซือหม่าเชียน (ก่อน ค.ศ. 145-?) ในฐานะผู้เขียน-เรียบเรียงพงศาวดาร...
ขุนนางยุคก่อนปฏิวัติ คุย “รถไฟสยาม” เจ๋งกว่า “รถไฟอังกฤษ” ในดินแดนอาณานิคม
สโมสรศิลปวัฒนธรรมเสวนา ขอเชิญร่วมฟังเสวนา “หัวลำโพง” สเตชั่น โดยวิทยากรผู้เชี่ยวชาญด้านประวัติศาสตร์-สถาปัตยกรรม ศ.ดร.ชาตรี ประกิตนนทการ และ รศ.ดร.ประ...
ยิ่งอ่านยิ่งงง! โจทย์เลขของคนไทยสมัยโบราณยาวนับสิบบรรทัด ลองแก้กันดู
คณิตศาสตร์ไทยโบราณรับมาจากอินเดียโดยตรงเพราะมีคำศัพท์ที่สืบสายถึงกันได้ สาเหตุน่าจะมาจากความใกล้ชิดกันทางวัฒนธรรมผ่านศาสนาและการค้า คนไทยได้นำคณิตศาสต...
สมเด็จช่วง ขุนนางผู้ “ทรงอิทธิพล” แห่งกรุงรัตนโกสินทร์
ช่วงสิ้นปีมักมีการจัดอันดับต่างๆ ว่า พ่อค้าที่รวยที่สุด, ผู้นำที่แย่ที่สุด, สตรีที่สวยที่สุด ฯลฯ แล้วหากเรามองย้อนหลังไปในประวัติศาสตร์ “ขุนนางผู้ทรงอ...
ที่มาของราชทินนาม “พระยาทุกขราษฎร์” จากพระสำแดงวิชาช่วยสู้ทัพพม่า สึกมารับราชการ...
ในบรรดาราชทินนามต่างๆ มีอยู่ราชทินนามหนึ่งซึ่งค่อนข้างแปลก คือมีแทบจะทุกเมือง ได้แก่ ราชทินนาม ทุกขราษฎร์ ยังไม่พบหลักเกณฑ์ว่าเป็นตำแหน่งขึ้นกับใคร เท...
“นายจิตร นายใจ” นิทานวิจารณ์เจ้านาย-ขุนนางสมัยร.5 ลุ่มหลงการละคร จนละเลยงานราชกา...
นิทานเรื่อง นายจิตร นายใจ เป็นผลงานของ เจ้าพระยาภาสกรวงศ์ (พร บุนนาค) ตีพิมพ์ใน ดรุโณวาท หนังสือพิมพ์เล่มแรกโดยคนไทย นิทานเรื่องนี้ได้ถ่ายทอดทรรศนะของ...
“หลวงการ์เดนกิจบริรักษ์” ขุนนางสยาม แต่มีราชทินนามภาษาอังกฤษ สมัย ร.5...
หากใครเคยได้อ่านพระราชพงศาวดารหรือจดหมายเหตุโบราณของไทยที่กล่าวถึงขุนนางคนต่าง ๆ ในสยามแล้ว อาจจะเคยเกิดความสับสนงุนงงอยู่บ้างว่าทำไมในประวัติศาสตร์จึ...
การวิ่งเต้นเป็นเจ้าเมือง และการเดินเหินติดสินบนของขุนนางไทย
ในหนังสือ “ขุนนางสยาม ประวัติศาสตร์ ‘ข้าราชการ’ ทหารและพลเรือน” (สนพ. มติชน, พิมพ์ครั้งที่ 2 มกราคม 2548) ผู้เขียน ส. พลายน้อย กล่าวถึงมิติต่างๆ เกี่ย...
ได้เป็นทูตเพราะบุตรภรรยา? ทำไมรัชกาลที่ 4 รับสั่งตำหนิทูตสกุลบุนนาค?
รัชกาลที่ 4 ทรงแต่งตั้งขุนนางสกุลบุนนาคหลายคนได้รับการแต่งตั้งเป็นอัครราชทูตพิเศษ ไปเจริญสัมพันธไมตรีกับประเทศต่างๆ ในยุโรป เช่น พระยามนตรีสุริยวงศ์ (...
ขุนนางโดนจักรพรรดิจีนสั่งโบย รอดหรือตาย ไม่ได้ขึ้นกับกระดูกแข็งแค่อย่างเดียว
ประเพณีการโบยขุนนางที่ประพฤติไม่ชอบ หรือทำให้จักรพรรดิพิโรธถือปฏิบัติสืบต่อกันมาอย่างยาวนาน แต่มีบันทึกเหตุการณ์ที่เข้มข้นในราชวงศ์หมิง การลงทัณฑ์นอกจ...
ช้างสารปะทะกัน คดีความระหว่าง 2 เสนาบดีใหญ่ เจ้าพระยามหินทรฯ-พระยาสุรศักดิ์ฯ
เรื่องราวของบทความนี้เก็บความมาจากหนังสือ รายงานการประชุมเสนาบดีสภา ร.ศ 111 ซึ่งเป็นเอกสารบันทึกการประชุมเสนาบดีสภาทั้ง 16 กรม ซึ่งเกิดขึ้นหลังจากพระบ...