เว็บไซต์นี้ใช้คุ้กกี้เพื่อสร้างประสบการณ์ที่ดีมีประสิทธิภาพยิ่งขี้น อ่านเพิ่มเติมคลิก (Privacy Policy) และ (Cookies Policy)
วันพฤหัสที่ 1 พฤษภาคม พ.ศ.2568
หน้าแรก แท็ก กิมย้ง

แท็ก: กิมย้ง

กองทัพหนี่ว์เจิน กิมก๊ก

จีนต้องจ่ายเท่าไหร่ เพื่อประกันสันติภาพกับ “กิมก๊ก” ฝ่ายร้ายในมังกรหยก?

“กิมก๊ก” อาณาจักรทรงอำนาจใน “มังกรหยก” นวนิยายกำลังภายในอันโด่งดังของกิมย้ง พวกเขาเป็นศัตรูตัวฉกาจที่จ้องยึดครองแผ่นดินจีนอันอุดมสมบูรณ์ ทำให้ราชวงศ์เ...
เส้าหลิน-บู๊ตึ๊ง

“เส้าหลิน-บู๊ตึ๊ง” ที่กิมย้งใช้อ้างในนิยายกำลังภายใน สำนักจริงเป็นอย่างไร?

“เส้าหลิน-บู๊ตึ๊ง” ที่กิมย้งใช้อ้างในนิยายกำลังภายใน สำนักจริงเป็นอย่างไร? สำหรับ “ติ่ง” นิยาย/ซีรีส์กำลังภายใน ชื่อ 2 สำนักใหญ่แห่งยุทธภพอย่าง “วัดเ...
มังกรหยก 20205

มังกรหยก 2025 ชื่อตัวละครสำคัญ “ก๊วยเจ๋ง-เอี้ยคัง” มีที่มาจากไหน?

“มังกรหยก 2025” ภาพยนตร์ฟอร์มใหญ่ ที่มาจากนวนิยายเรื่องมังกรหยกภาคแรก ที่ดูกันมาหลายเวอร์ชั่น แต่ก็ยังเป็นที่ชื่นชมของผู้ชม เพราะฝีมือการประพันธ์ระดับ...
กิมย้ง จาเลี้ยงย้ง

กิมย้ง นักเขียนปรมาจารย์ : เหนืออดีต สยบอนาคต ผ่านมุมมองน.นพรัตน์

กิมย้ง นักเขียนปรมาจารย์ ผู้สร้างตำนานในบรรณพิภพ ด้วยผลงานสะเทือนฟ้าดิน อาทิ มังกรหยก, แปดเทพอสูรมังกรฟ้า, ดาบมังกรหยก, กระบี่เย้ยยุทธจักร ฯลฯ  สำหรั...
ลัทธิเม้งก้า แห่งดาบมังกรหยก

“ลัทธิเม้งก้า” แห่งดาบมังกรหยก มีจริงหรือไม่? เหตุใดจึงถูกมองเป็น “พรรคมาร” ?

ลัทธิเม้งก้า แห่งดาบมังกรหยก มีจริงหรือไม่? เหตุใดจึงถูกมองเป็นพรรคมาร? ในเรื่อง “ดาบมังกรหยก” หรือ “มังกรหยก ภาค 3” กิมย้ง ได้แต่งให้ เตียบ้อกี๋ ตัว...

นัยของ งักปุกคุ้ง เจ้าสำนักที่เป็นวิญญูชนจอมปลอม ตัวละครไร้กาลเวลาโดย “กิมย้ง”...

***บทความอาจเปิดเผยเนื้อหาบางส่วนของนิยาย*** สำหรับคอ (นิยาย) กำลังภายใน ชื่อที่คุ้นเคยกันดีคือนักเขียนอย่าง "กิมย้ง" หรือชื่อจริงว่า จา เลี้ยงย้ง ...
กมย้ง

ถอดรหัส “กิมย้ง” ทำไมสร้างนิยายกำลังภายในที่เหนือกาลเวลา อิทธิพลการเมือง-คุณธรรม...

การจากไปของ "กิมย้ง" เมื่อปี 2018 เป็นความสูญเสียครั้งใหญ่สำหรับวงการนิยายกำลังภายใน ถึงกิมย้งไม่ได้เขียนผลงานเรื่องใหม่มาหลายปีแล้ว แต่รอบทศวรรษที่ผ่...

เนี่ยอูเซ็ง-กิมย้ง-โกวเล้ง ผู้สร้าง “ยุคทอง” นิยายกำลังภายใน เหล่าจอมยุทธ์นับพัน...

“นิยายกำลังภายใน” เป็นเอกลักษณ์ทางวรรณกรรมของจีน เพราะชาติอื่นไม่มีวรรณกรรมชนิดนี้เลย ภาษาจีนเรียกว่า “บู๊เฮี๊ยบเสียวสวยะ” ขณะที่ภาษาไทยในยุคแรกเรียกว...

ติดตามเรา

เรื่องเด่น