เว็บไซต์นี้ใช้คุ้กกี้เพื่อสร้างประสบการณ์ที่ดีมีประสิทธิภาพยิ่งขี้น อ่านเพิ่มเติมคลิก (Privacy Policy) และ (Cookies Policy)
วันพุธที่ 6 ธันวาคม พ.ศ.2566
หน้าแรก แท็ก การแพทย์

แท็ก: การแพทย์

ภาพเก่า ภาพถ่าย โรงศิริราชแพทยากร ศิริราช

รากฐานการแพทย์-สาธารณสุขไทย จากยุคกรมหมอหลวง สู่โรงพยาบาลที่ราษฎรเข้าถึง

การแพทย์-สาธารณสุขไทย จากยุคกรมหมอหลวง สู่โรงพยาบาลที่ราษฎรเข้าถึง ระบบการสาธารณสุขของประเทศไทย ได้รับการยกย่องว่ามีความเข้มแข็ง เป็นอันดับต้นๆ ของ...
พระพุทธเจ้า ทรงพักผ่อน พร้อมด้วย เหล่าภิกษุ

“หมอชีวกโกมารภัจจ์” ผู้อยู่เบื้องหลัง “โรคอันตราย 5 ประการ” ห้ามบวช

หมอชีวกโกมารภัจจ์ คือ ผู้มีความสามารถด้านการแพทย์ในสมัยพุทธกาล นอกจากความรู้ทางการแพทย์ที่สั่งสม จนได้รับตำแหน่งแพทย์ของพระเจ้าพิมพิสาร และหมอประจำของ...
จิโอวานนี บัตติสตา มอร์กานญี แพทย์ ชาวอิตาลี และ ภาพวาด ลำไส้ ไส้ติ่ง

สืบจากศพ เคส “ไส้ติ่ง” ที่พลิกวงการแพทย์ เมื่อสามร้อยปีก่อน!

ชายชราชาวอิตาลีคนหนึ่งปวดท้องต่อเนื่องหลายวัน และมีอาการปวดรุนแรงขึ้นเรื่อย ๆ เขาจึงตัดสินใจรุดไปพบแพทย์ประจำเมือง แต่ก็เสียชีวิตอย่างกะทันหันในคืนวัน...
ประติมากรรมสำริดภาพพระไภษัชยคุรุไวฑุรยประภา และ พระอวโลกิเตศวร สันนิษฐานว่า ใบหน้าถ่ายแบบมาจาก พระเจ้าชัยวรมันที่ 7

โรงพยาบาลกับสมุนไพร สมัยดึกดำบรรพ์ : จากจารึกพระเจ้าชัยวรมันที่ 7 ที่พบในประเทศไ...

โรงพยาบาล หรืออโรคยศาลา ระหว่าง พ.ศ. 1724-1761 (?) ราชอาณาจักรเขมรโบราณอันมีศูนย์กลางอยู่ที่เมืองพระนครหลวง ได้ถูกปกครองโดย พระเจ้าชัยวรมันที่ 7 กษัต...

BTX Migraine Center ศูนย์รักษาไมเกรนย่านลาดพร้าว

ข่าวดี สำหรับผู้ที่มีปัญหาปวดหัวไมเกรน วันนี้ BTX Migraine Center ลาดพร้าว ได้นำเทคโนโลยีการรักษาอาการปวดหัวอีกรูปแบบ ซึ่งจะช่วยให้อาการปวดหัวน้อยลง อ...

“อโรคยศาล” สถานที่รักษาโรคทางกาย-จิต ผลงานเขมรสมัยพระนคร ยุคพระเจ้าชัยวรมันที่ 7...

พระเจ้าชัยวรมันที่ 7 ทรงเป็นกษัตริย์เขมรในช่วงพุทธศตวรรษที่ 18 ทรงสถาปนาพุทธศาสนสถานขึ้นเป็นจำนวนมากทั่วพระราชอาณาจักร พร้อมกับการสร้างเมืองนครธมให้เป...

เหตุใดอินจึงตายตามจัน? ดูการจากไปของ อินจัน “แฝดสยาม” และควันหลงที่ตามมา...

คงไม่ใช่เรื่องแปลกหาก อินจัน ครุ่นคิดถึงการผ่าตัดแยกร่างอย่างสม่ำเสมอ และยิ่งไม่ใช่เรื่องยากที่ต้องตัดสินใจแยกร่างหากคนใดคนหนึ่งเสียชีวิตลงก่อน ในเช้า...

มี “มัมมี่เก่าๆ” มาขาย…

ทันทีที่ได้เห็นภาพนี้ ผู้เขียนก็นึกขึ้นเล่นๆ ว่านี่คงเป็นประโยคใช้เรียกลูกค้า ของพ่อค้าเร่ริมถนนในอียิปต์ ที่เอา "มัมมี่" หลายตัวมาขายแบกะดิน ราวกับเป...

สหรัฐฯ นำคนดังวงการบันเทิงระดับ “เอลวิส” กระตุ้นวัยรุ่นฉีดวัคซีนโปลิโอ ได้ผลอย่า...

หลังสงครามโลกครั้งที่ 2 สหรัฐอเมริกาเผชิญกับโรคโปลิโอระบาดอย่างหนักในหมู่เยาวชน กระทั่งเป็นที่ตื่นตระหนกต่อเหล่าผู้ปกครองและระบบสาธารณสุข ทางการสหรัฐฯ...
หมอบรัดเลย์

13 มกราคม 2380 หมอบรัดเลย์ “ผ่าตัดใหญ่” เป็นครั้งแรกในไทย

วันนี้ในอดีต เมื่อ 13 มกราคม 2380 หมอบรัดเลย์ มิชชันนารีชาวอเมริกัน ทำการ “ผ่าตัดใหญ่” เป็นครั้งแรกในไทย การเข้ามาของการแพทย์แบบตะวันตกในสมัยกรุงรั...

“บ้าก็บ้าวะ” เปิดตำนานตีตราทางสังคม วินิจฉัยโรคจิต-ประสาท ยุคสุโขทัย ถึงสมัยใหม่...

บทความนี้มีเป้าหมายเพื่อชี้ให้เห็น ประวัติการตีตราทางสังคม หรือการวินิจฉัย โรคจิตโรคประสาทของไทยที่เรียกง่ายๆ ว่า บ้าหรือโรคบ้า ตั้งแต่ครั้งโบราณจนกระ...

การตรวจสุขภาพทหารที่จะไปร่วมรบสงครามโลกครั้งที่ 1 ที่น่ามึนงง และจั๊กจี้?!?

สงครามโลกครั้งที่ 1 นั้น ตรงกับรัชกาลของพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว รัฐไทยส่งทหารกว่าพันนายไปร่วมรบในสงครามครั้งนั้น โดยเข้ากันฝ่ายสัมพันธมิต...

ติดตามเรา

เรื่องเด่น