เว็บไซต์นี้ใช้คุ้กกี้เพื่อสร้างประสบการณ์ที่ดีมีประสิทธิภาพยิ่งขี้น อ่านเพิ่มเติมคลิก (Privacy Policy) และ (Cookies Policy)
วันพุธที่ 4 ธันวาคม พ.ศ.2567
หน้าแรก แท็ก การเสียกรุงศรีอยุธยา

แท็ก: การเสียกรุงศรีอยุธยา

สงครามคราวเสียกรุงศรีอยุธยาครั้งที่ 2 ประกอบ ชาวบ้านอยุธยา หลังเสียกรุงครั้งที่ 2

หลังเสียกรุงครั้งที่ 2 ชาวบ้านอยุธยาเป็นอยู่อย่างไร?

หลังจากเสียกรุงศรีอยุธยาครั้งที่ 2 เมื่อ พ.ศ. 2310 บ้านเมืองก็ระส่ำระสาย ผู้คนหนีเอาตัวรอด เคยมีบันทึกที่พูดถึงชะตากรรมของเหล่าเจ้าหญิง-เจ้าชายอยุธยาไ...
ชาวต่างชาติในกองทัพอยุธยา

ชาวต่างชาติในกองทัพอยุธยา คราวสงครามเสียกรุงศรีฯ ครั้งที่ 2

ชาวต่างชาติในกองทัพอยุธยา คราวสงครามเสียกรุงศรีฯ ครั้งที่ 2 พ.ศ. 2310 "กรุงศรีอยุธยา" ได้ชื่อว่าเป็น "เมืองท่านานาชาติ" ศูนย์กลางการค้าที่สำคัญของภูม...
ภูมิศาสตร์ ราชวงศ์คองบอง พม่า พลังภูมิศาสตร์คองบอง

“ภูมิศาสตร์” พลังขับเคลื่อนเครื่องจักรสงครามของราชวงศ์คองบอง

พลังภูมิศาสตร์คองบองเครื่องจักรสงครามของพม่า ความแข็งแกร่งของราชวงศ์คองบองประกอบขึ้นจากหลายเหตุปัจจัย ที่สำคัญประการหนึ่งที่ไม่ควรมองข้ามคือปัจจัยด้า...
จิตรกรรมฝาผนัง เผา อยุธยา เสียกรุงครั้งที่ 2 พระเจ้าเอกทัศ ราชวงศ์ บ้านพลูหลวง กรุงศรีอยุธยา กรุงศรีอยุธยาแตก

“สุกี้” นายกองมอญของอยุธยา แต่ “แปรพักตร์” ไปเข้ากับพม่า

สุกี้ คือ “เจ้าทองสุก” ผู้นำชุมชนชาว “มอญ” ค่ายโพธิ์สามต้นในสงคราม เสียกรุงฯ ครั้งที่ 2 มีบทบาทในการพิชิตค่ายบางระจัน และดูแลพื้นที่กรุงเก่าหลังกรุงศร...
กรุงศรีอยุธยา ส่งออก ของป่า เช่น หนังกวาง ไป ญี่ปุ่น อโยธยา

“อโยธยา” ทำไมต้องเปลี่ยนชื่อเป็น “อยุธยา” หรือเพราะนามไม่มงคล?

สงสัยไหม ทำไม “อโยธยา” ต้องเปลี่ยนชื่อเป็น “อยุธยา” เกี่ยวข้องอะไรกับความไม่เป็นมงคลอย่างที่เคยเชื่อกันมาหรือไม่? เรื่องการเปลี่ยนชื่อจาก “อโยธยา” ...

“สร้างคอกล้อมวัว” ยุทธวิธีพม่าตีกรุงศรีอยุธยาแตก “ล้อม 10 ปีก็จะล้อมจนกว่าจะได้”...

กลศึกของพม่าในคราวสงครามเสียกรุงครั้งที่ 2 ที่ทำให้ กรุงศรีอยุธยาแตก พม่าใช้ยุทธวิธี "สร้างคอกล้อมวัว” นั่นคือการสร้างเมืองเล็กๆ ล้อมเกาะเมืองกรุงศรีอ...
กรุงศรีอยุธยาแตก

7 เมษายน 2310: กรุงศรีอยุธยาแตก

เหตุการณ์ กรุงศรีอยุธยาแตก เมื่อวันที่ 7 เมษายน พ.ศ. 2310 นั้น คำให้การชาวกรุงเก่า ซึ่งถือเป็นหลักฐานชั้นต้นได้บันทึกเอาไว้ว่า “พม่าเห็นได้ที ก็ระดมเ...
จิตรกรรมฝาผนัง เผา อยุธยา เสียกรุงครั้งที่ 2 พระเจ้าเอกทัศ ราชวงศ์ บ้านพลูหลวง

ขุดอุโมงค์เผากำแพง สู่จุดจบอยุธยา พินาศด้วยเพลิงกัลป์ ดั่งอาทิตย์ขึ้นพร้อมกัน 7 ...

จุดจบ "อยุธยา" พม่า ขุดอุโมงค์ เผากำแพง จนบ้านเมืองพินาศด้วยเพลิงกัลป์ ดั่งอาทิตย์ขึ้นพร้อมกัน 7 ดวง ในบทความ "'อยุธยาพิโรธใต้ เพลิงกัลป์' : บันทึก...
พระบรมราชานุสาวรีย์ สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี พระเจ้าตาก วงเวียนใหญ่

พระเจ้าตาก กับยุทธศาสตร์ “การค้านำการทหาร” ปราบโจรผู้ร้าย สร้างขื่อแปให้บ้านเมือ...

หลังตีฝ่าค่ายพม่าหนีออกจากกรุงศรีอยุธยาก่อนเสียกรุงฯ ครั้งที่ 2 พระเจ้าตาก มายังหัวเมืองตะวันออกเพื่อรวบรวมกำลังกลับไปกู้กรุงฯ ทรงปราบปรามซ่อง โจรสลัด...
วัดพระศรีรัตนมหาธาตุ พิษณุโลก ริมแม่น้ำน่าน

บทบาท “พิษณุโลก” ก่อนเสียกรุง ฤๅเจ้าเมืองรีบชิ่งหนีอยุธยา เพราะรู้ว่าสู้อังวะไม่...

เมือง "พิษณุโลก" ซึ่งเป็นหัวเมืองใหญ่และเป็นแหล่งของป่าที่สำคัญ ได้เป็นปัจจัยที่ดึงดูดไพร่จาก "กรุงศรีอยุธยา" ขึ้นมาหาของป่า เพื่อค้าขายสร้างความมั่งม...

ยุทธศาสตร์ทัพพม่า สงครามคราวเสียกรุงครั้งที่ 2 ตีล้านนา ล้านช้าง และหัวเมืองเหนื...

สมเด็จกรมพระยาดำรงฯ ทรงตั้งข้อวินิจฉัยไว้ในพระนิพนธ์ไทยรบพม่า ว่า ในชั้นต้นพม่าไม่ได้ประสงค์จะเข้าตีกรุงศรีอยุธยา ทั้งนี้ เห็นได้จากกองทัพที่พระเจ้ามั...

ศึกสีกุก ยุทธศาสตร์ที่ผิดพลาดของอยุธยา สมรภูมิที่ไม่ปรากฏในหลักฐานไทย

จุดบรรจบของแม่น้ำน้อยและคลองบางบาล ที่อำเภอบางบาล จังหวัดพระนครศรีอยุธยา เป็นที่ตั้งของ "วัดสีกุก" อาณาบริเวณนี้สมัยสงครามคราวเสียกรุงศรีอยุธยาครั้งที...

ติดตามเรา

เรื่องเด่น