เว็บไซต์นี้ใช้คุ้กกี้เพื่อสร้างประสบการณ์ที่ดีมีประสิทธิภาพยิ่งขี้น อ่านเพิ่มเติมคลิก (Privacy Policy) และ (Cookies Policy)
วันศุกร์ที่ 29 มีนาคม พ.ศ.2567
หน้าแรก แท็ก การเมือง

แท็ก: การเมือง

วาทกรรมอำนาจ “พระสงฆ์ไทย” ว่าด้วย “สังฆราช”

บทนำ พระสงฆ์ในสมัยพุทธกาล มีวิถีชีวิตที่ได้อิทธิพลมาจากการดำเนินชีวิตตามวิถีของพวกฮินดูในช่วงที่เป็นสันยาสี คือ ช่วงปลายชีวิตที่ต้องพยายามสละทุกสิ่งท...

“นรินทร์กลึง” อดีตขุนนางโดนคดีขบถ “ภัยต่อความสงบ” ติดคุกยังร่อนจดหมายไปทั่ว...

กฎหมายว่าด้วยความสงบเรียบร้อยในประเทศมีมาหลายยุคสมัยแล้ว หากถามว่าจะมีใครที่ถูกแจ้งข้อหาใกล้เคียงกับข้อหานี้มากที่สุดในรอบ 100 ปีที่ผ่านมา คงต้องนึกถึ...

สงครามกับพม่าช่วงเสียกรุงกับ “ผลดี” ต่อการปรับเสถียรภาพการเมืองอยุธยา...

ความสัมพันธ์ระหว่างไทยกับพม่าในเชิงคู่สงครามเป็นที่เข้าใจว่าพม่าสร้างความเสียหายต่อไทยเหลือคณา อย่างไรก็ตาม ในมุมมองของนักวิชาการที่มองผลกระทบจากสงครา...

รัฐบาลคณะราษฎร พ.ศ. 2476-90 ทำอะไรไว้บ้าง?

คณะราษฎรได้ก่อตั้งขึ้นเมื่อต้นเดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. 2470 (นับอย่างปฏิทินปัจจุบัน) และได้ปิดฉากลงเมื่อต้นเดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2490, รวมเป็นเวลาทั้งสิ้น 2...

โลกาภิวัตน์ ในสมัยรัชกาลที่ 4 เกิดอะไรที่กระทบกับบ้านเมืองของไทย

สมัยรัชกาลที่ 4 (พ.ศ. 2347-2411) สยามประเทศมีการเปลี่ยนแปลงหลายอย่างๆ เช่น การเข้ามาของของชาติตะวันตก, การเลิกส่งเครื่องบรรณาการจิ้มก้องกับจีน, การเรี...

เบื้องหลัง “รัฐประหารด้วยน้ำตา” พลโท ผิน ชุณหะวัณ ชวนจอมพล ป. มาร่วมได้อย่างไร...

เป็นที่ทราบดีว่า "รัฐประหาร 2490" รัฐประหารครั้งที่ 3 ในประวัติศาสตร์ของไทยกระทำโดย "คณะทหาร" มีพลโท ผิน ชุณหะวัณ (ยศในขณะนั้น) นายทหารนอกราชการเป็นผู...

การเมืองปลายสมัยรัชกาลที่ 2 ความเคลื่อนไหวในราชสำนัก หลังฉากการผลัดแผ่นดิน

ตลอดรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย บ้านเมืองว่างเว้นจากการศึกสงคราม พระราชานุกิจของพระเจ้าแผ่นดินยังคงกระทำตามอย่างสมเด็จพระบรมชนกนาถ พระ...

เปิดวิธีเนรเทศนักการเมืองยุคกรีกโบราณพ้นถิ่น 10 ปี ใครโดนขับไล่บ้าง?

ระบอบการปกครองหลายรูปแบบในทุกวันนี้มีจำนวนไม่น้อยที่พัฒนาต่อยอดมาจากผลผลิตยุคโบราณ สำหรับระบอบประชาธิปไตยในยุคแรกเริ่ม แทบทุกคนย่อมนึกถึงกรีกโบราณ เมื...

“ศิลปะกับการเมือง” ในมุมมอง “ส.ศิวรักษ์”

สมัยเมื่อขอมเรืองอำนาจ ได้สร้างปราสาทและศิลปสถานอย่างยิ่งใหญ่อลังการในทางสถาปัตยกรรม แทบหาที่เปรียบมิได้ แม้ประติมากรรมก็งดงามมิใช่น้อย หากจิตรกรรมนั้...

โลกทัศน์อันนำมาสู่กำเนิด “การเมืองและความยุติธรรม” สมัยต้นกรุงรัตนโกสินทร์...

หลายปีมาแล้ว ขณะไปนั่งอ่านและพยายามเขียนงานเรื่องประวัติความคิดการเมืองสยามที่ศูนย์อุษาคเนย์ศึกษา มหาวิทยาลัยเกียวโต ผมเจอบทความเก่าชิ้นหนึ่ง ซึ่งให้ค...

การเมืองไทยสมัยรัชกาลที่ 4 เบื้องหลังสถาปนาพระปิ่นเกล้าฯ

ถ้าบอกว่าสมัยหนึ่งประเทศไทยมีพระมหากษัตริย์ 2 พระองค์ ผู้อ่านหลายท่านคงนึกได้ทันทีว่าเป็นช่วงรัชกาลที่ 4 ของกรุงรัตนโกสินทร์ ที่นอกจากจะมีพระบาทสมเด็จ...
รัฐประหาร

อ่าน! บทวิจารณ์รัฐประหาร 2490 ของสื่อฝรั่ง ดูว่ามีน้ำหนักเพียงใด

หากถามว่า "รัฐประหาร พ.ศ. 2490"  มีผลอย่างไรกับการเมืองของไทย หนึ่งในคำตอบที่ดีในเรื่องนี้ก็คือข้อเขียนของศ.ดร. ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ ในคำนำเสนอหนังสือ รั...

ติดตามเรา

เรื่องเด่น