เว็บไซต์นี้ใช้คุ้กกี้เพื่อสร้างประสบการณ์ที่ดีมีประสิทธิภาพยิ่งขี้น อ่านเพิ่มเติมคลิก (Privacy Policy) และ (Cookies Policy)
วันพฤหัสที่ 28 มีนาคม พ.ศ.2567
หน้าแรก แท็ก การเมือง

แท็ก: การเมือง

คึกฤทธิ์ ปราโมช

“กูไม่กลัวมึง จะบอกให้ตรง ๆ” ย้อนดูวาทะเดือด ม.ร.ว.คึกฤทธิ์ ปราโมช

ม.ร.ว.คึกฤทธิ์ ปราโมช อดีตนายกรัฐมนตรี เป็นนักการเมืองและปัญญาชนที่มีบทบาทและความสำคัญอย่างมากคนหนึ่งของไทย นอกจากเป็นนักการเมื...
คึกฤทธิ์ ปราโมช หม่อมคึกฤทธิ์ พรรคการเมือง ประชาธิปไตย การเมือง

ม.ร.ว. คึกฤทธิ์ หัวหน้าพรรค 18 เสียง ที่ได้เป็น “นายกรัฐมนตรี”

ปกตินายกรัฐมนตรี ที่มาจาก “การเลือกตั้ง” มักมาจากพรรคการเมืองที่มี ส.ส. จำนวนมาก แต่ ม.ร.ว. คึกฤทธิ์ ปราโมช หัวหน้าพรรคกิจสังคม กลับสร้างปรากฏการณ์ใหม...
ม.ร.ว. คึกฤทธิ์ ปราโมช

“ถ้าไม่อยากแก่เร็วตายเร็ว ก็อย่าไปเป็นนายกฯ เมืองไทยเข้าก็แล้วกัน” วาทะม.ร.ว.คึก...

"...เกิดมาเป็นลูกเจ้าลูกนาย การศึกษาก็สูง พ่อแม่ก็เลี้ยงมาดี ไม่เคยให้ใครมากระทืบเช้ากระทืบเย็น วันละ 3 เวลาหลังอาหารอย่างเมื่อครั้งเป็นนายกรัฐมนตรี.....

เผยตัวตนเอฟบีไอสองหน้า แฉข้อมูลลับให้สื่อจนนิกสัน ลาออกจากปธน. แต่ปากบอกไม่ได้ทำ...

คดี "วอเตอร์เกต" (Watergate) อันลือลั่นซึ่งว่าด้วยการแฉข้อมูลทางการเมือง แม้จะล่วงเลยมาหลายสิบปีแล้ว จนถึงปัจจุบัน คดีนี้ยังอยู่ในความทรงจำในฐานะเรื่อ...

โหราศาสตร์กับ (บาง)เหตุการณ์บ้านเมืองไทยหลัง 2475 ฤกษ์รัฐประหาร ถึงโหรจอมพลสฤษดิ...

บรรดาศาสตร์เก่าแก่ต่างๆ โหราศาสตร์ เป็นศาสตร์หนึ่งที่ยังมีการศึกษา, การใช้งาน และการยอมรับจากสังคม ทั้งแพร่หลาย ไปยังบุคคลระดับต่างๆ ตั้งแต่ประชาชนทั่...
สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ามหามาลา กรมพระยาปราบปรปักษ์

ต้นตอ “ลาวบางกอก” ลาวจากเวียงจันยุคต้นรัตนโกสินทร์ บริวารเจ้า สู่รุ่นสุดท้ายที่เ...

เมื่อพูดถึง “ลาว” ในไทยมีลาวหลายกลุ่มด้วยกัน เช่น สมัยกรุงธนบุรี เมื่อตีเมืองล้านช้างก็ได้พวกลาวทรงดำมาเป็นอันมาก ครั้งนั้นโปรดให้พวกลาวทรงดำไปตั้งบ้า...

กำเนิดและพัฒนาการในระยะแรกของคนชั้นกลาง

บทความนี้เป็นการคัดย่อเนื้อหาบางส่วนจากบทความของ ศ.ดร. นิธิ เอียวศรีวงศ์ ชื่อ “วัฒนธรรมทางการเมืองไทย” (ศิลปวัฒนธรรม, ฉบับเดือนมกราคม 2551) ที่เนื้อหา...

วัฒนธรรมมือที่สาม ทางออกของความขัดแย้ง และการปิดบังความจริง

หนังสือ “อยู่ชายขอบ มองลอดความรู้ รวมบทความเนื่องในวาระครบรอบ 60 ปี ฉลาด รมิตานนท์” (สนพ. มติชน, กุมภาพันธ์ 2549) โดยมี อานันท์ กาญจนาพันธุ์ เป็นบรรณา...

ธรรมศาสตร์ ถูกจอมพล ป. ยึดเป็นที่พักทหาร อ้างเพื่อความสงบเรียบร้อย

หลังเหตุการณ์กบฏแมนฮัตตัน (29 มิถุนายน 2494) รัฐบาล จอมพล ป. พิบูลสงคราม ได้ส่งกำลังเข้ายึด ธรรมศาสตร์ ซึ่งขณะนั้นยังใช้ชื่อว่า มหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาส...

ตำนานนักสู้ “เตียง ศิริขันธ์” จากครูหนุ่มไฟแรง สู่สี่เสืออีสาน ขุนพลหนุ่มแห่งภูพ...

เตียง ศิริขันธ์ คืออีกหนึ่งตำนานนักสู้ จากครูหนุ่มไฟแรง สู่สี่เสืออีสาน ขุนพลหนุ่มแห่งภูพาน...แต่ทำไมต้องถูก "เก็บ"? ตั้งแต่ประเทศไทยเริ่มต้นมีผู้แ...

คนฝรั่งเศส ราชวงศ์ฝรั่งเศส บนทางเลือกทางการเมือง

บทความนี้คัดย่อจาก “ทำไมคนฝรั่งเศส จึงปิดบังประวัติศาสตร์ตัวเอง?” (ศิลปวัฒนธรรม, เดือนกรกฎาคม 2556) ที่ ไกรฤกษ์ นานา ค้นคว้าและเรียบเรียงไว้  โดยคัดมา...

เจ้าสุภานุวงศ์ “เจ้านาย” นักปฏิวัติ สัญลักษณ์การต่อสู้เพื่อเอกราชลาว

ขณะที่เวียดนามมี “โฮจิมินห์” เป็นสัญลักษณ์การต่อสู้เพื่อเอกราชของประเทศ  ลาวก็มี “เจ้าสุภานุวงศ์” ผู้นำปฏิวัติ ที่เป็นสัญลักษณ์การต่อสู้เพื่อเอกราช แล...

ติดตามเรา

เรื่องเด่น