เว็บไซต์นี้ใช้คุ้กกี้เพื่อสร้างประสบการณ์ที่ดีมีประสิทธิภาพยิ่งขี้น อ่านเพิ่มเติมคลิก (Privacy Policy) และ (Cookies Policy)
วันพฤหัสที่ 25 เมษายน พ.ศ.2567
หน้าแรก แท็ก การเมืองไทย

แท็ก: การเมืองไทย

นายกรัฐมนตรีไทย สัญญา ธรรมศักดิ์ ธานินทร์ กรัยวิเชียร ชาติชาย ชุณหะวัณ

5 เมษายน วันคล้ายวันเกิดนายกรัฐมนตรีไทย สัญญา-ธานินทร์-ชาติชาย

วันที่ 5 เมษายน ตรงกับวันคล้ายวันเกิด นายกรัฐมนตรีไทย 3 คนคือ สัญญา ธรรมศักดิ์, ธานินทร์ กรัยวิเชียร และ พลเอก ชาติชาย ชุณหะวัณ ทั้งสามท่านล้วนมีความเ...
รัฐประหาร 23 กุมภาพันธ์ 2534

การเมืองไทยสมัยชาติชาย จากเปรม-บ้านพิษณุโลก-รถโมบาย สู่รัฐประหาร 23 กุมภาพันธ์ 2...

“พฤษภา 35” คือวิกฤตการณ์ทางการเมืองไทยครั้งสำคัญนับจากเหตุการณ์ความสูญเสียในเดือนตุลาคมซึ่งผ่านมาเกือบ 20 ปี ในเหตุการณ์เดือนพฤษภาคมครั้งนี้สืบเนื่องม...
หลวงประดิษฐ์มนูธรรม ปรีดี พนมยงค์

หลวงประดิษฐ์มนูธรรม (ปรีดี พนมยงค์) ขอปฏิเสธ! “ข้าพเจ้าไม่ใช่คอมมูนิสต์”...

พระยามโนปกรณ์นิติธาดา นายกรัฐมนตรีคนแรกของไทยได้มอบหมายให้ หลวงประดิษฐ์มนูธรรม (ปรีดี พนมยงค์) เป็นผู้ร่างโครงการเศรษฐกิจแห่งชาติขึ้น ซึ่งหลวงประดิษฐ์...
6 ตุลาคม 2519 นักศึกษา ประชาชน เจ้าหน้าที่รัฐ ตำรวจ ทหาร ล้อมปราบ

6 ตุลาในมุมนิธิ เอียวศรีวงศ์-ธงชัย วินิจจะกูล อดีตที่เผยอัปลักษณ์ 5 อย่างของสังค...

สำรวจ 6 ตุลา ในมุมมอง นิธิ เอียวศรีวงศ์ และ ธงชัย วินิจจะกูล กับอดีตที่เผยอัปลักษณ์ 5 อย่างของสังคมไทย ภายหลังจากเหตุการณ์ 14 ตุลาคม 2516 เกิดความต...
เลียง ไชยกาล

เลียง ไชยกาล สส.หลายสมัย อภิปรายเดือดเรื่อง “ทุจริตที่ดิน” จนถูกจับโยนลงน้ำ!!!

เลียง ไชยกาล เป็นนักการเมืองไทยที่ได้รับความไว้วางใจจากประชาชนมากที่สุดคนหนึ่งในยุคเริ่มแรกของการเมืองไทยหลังเปลี่ยนแปลงการปกคร...
วิลาศ โอสถานนท์ พฤฒสภา

“พฤฒสภา” ถึงจุดจบเพราะรัฐประหาร ก่อนเกิด “วุฒิสภา” ยาวมาถึงปัจจุบัน...

ก่อนมี "วุฒิสภา" อย่างทุกวันนี้ ประเทศไทยเคยมี "พฤฒสภา" มาก่อน คณะราษฎรเปลี่ยนแปลงการปกครอง เมื่อ พ.ศ. 2475 และมีรัฐธรรมนูญฉบับชั่วคราวเป็นฉบับแรก ...
ฉลอง งาน 2475

ย้อนดูจุดเริ่มต้นและจุดจบ “คณะกรรมการราษฎร 2475” ผู้พลิกโฉมหน้า “การเมืองไทย” (ต...

“คณะกรรมการราษฎร” มีอำนาจเบ็ดเสร็จหลังเปลี่ยนแปลงการปกครอง 24 มิถุนายน พ.ศ. 2475 แล้วเริ่มใช้อำนาจตามธรรมนูญการปกครองรื้อถอนขุมอำนาจเก่า ปลด เปลี่ยน แ...
คืนหมาหอน

“คืนหมาหอน” โอกาสสุดท้ายพลิกเกม? ชิงตำแหน่งผู้แทนประชาชน

คืนหมาหอน คือคำศัพท์ทางการเมืองที่ใช้อธิบายถึงการรณรงค์หาเสียงเลือกตั้งในช่วงโค้งสุดท้าย โดยเฉพาะในคืนสุดท้ายก่อนการเลือกตั้งจะ...
ฉ่ำ จำรัสเนตร ส.ส. นครศรีธรรมราช การเมือง เลือกตั้ง

ครูฉ่ำ (อดีต) ส.ส. นครฯ 5 สมัย หาเสียงเลือกตั้ง ซื้อ ปชช. ด้วย “ใจ” มิใช่ “เงินท...

ในบันทึกประวัติศาสตร์การเมืองไทยหากจะไม่เอ่ยถึง ฉ่ำ จำรัสเนตร หรือ "ครูฉ่ำ" ก็เป็นเรื่องแปลก นายฉ่ำเป็น "ชาวคอน" โดยกำเนิด เส้นทางชีวิตของเขาเริ่มต้นจ...
บ้านใหญ่ สมศักดิ์ เทพสุทิน วัฒนา อัศวเหม สุชาติ ตันเจริญ บรรหาร ศิลปอาชา เนวิน ชิดชอบ

“บ้านใหญ่” ผู้มากบารมี กำหนดทิศทางการเมืองไทย?

“บ้านใหญ่” เป็นคำที่สังคมไทยได้ยินบ่อยขึ้นโดยเฉพาะช่วงเลือกตั้ง ที่ “บ้านใหญ่” มักถูกจับตามองเป็นพิเศษว่าจะเข้าไปจับกับขั้วการเ...
สมัคร สุนทรเวช

พรรคประชากรไทย ตำนาน “แลนด์สไลด์” และที่มา “งูเห่า”

ทุกวันนี้แม้จะมีพรรคการเมืองเกิดขึ้นมากมาย แต่หากย้อนไปเมื่อ 30 กว่าปีก่อน หนึ่งในพรรคขวัญใจคนไทย หรือถ้าจำกัดพื้นที่ลงไปอีกก็ค...
อรพิน ไชยกาล และ รัฐสภาพระที่นั่งอนันตสมาคม

“อรพิน ไชยกาล” จากครูต่างจังหวัด สู่ ส.ส. หญิงคนแรกในการเมืองไทย

ปัจจุบัน จำนวนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร (ส.ส.) หญิง ในสภา ยังมีสัดส่วนน้อยกว่า ส.ส. ชาย อยู่พอสมควร แต่ก็ถือว่า มีจำนวนเพิ่มขึ้นมากจ...

ติดตามเรา

เรื่องเด่น