เว็บไซต์นี้ใช้คุ้กกี้เพื่อสร้างประสบการณ์ที่ดีมีประสิทธิภาพยิ่งขี้น อ่านเพิ่มเติมคลิก (Privacy Policy) และ (Cookies Policy)
วันเสาร์ที่ 22 มีนาคม พ.ศ.2568
หน้าแรก แท็ก การปฏิวัติ 2475

แท็ก: การปฏิวัติ 2475

คณะราษฎร ปฏิวัติ 2475

เปิดห้องประชุมครั้งแรกของ “คณะราษฎร” 7 ผู้ก่อตั้งพูดคุยเรื่องอะไรกัน?...

ราว พ.ศ. 2468 ณ กรุงปารีส ก่อนประวัติศาสตร์ไทยจะรู้จักชื่อ "คณะราษฎร" สองนักเรียนหนุ่มชื่อต้นขึ้นด้วยอักษร "ป. ปลา" จากสยาม ร่วมรับประทานอาหารในร้านเร...
ม.ร.ว. เสนีย์ ปราโมช คนดี

ขบวนการด้อยค่าประชาธิปไตย กับวาทะ “คนดี” อยู่เหนือคนจำนวนมาก

“ประชาธิปไตยนั้นไม่ได้หมายความว่าเป็นการปกครองที่ถือเอาข้างมากแต่เสียงเท่านั้น เพราะการเอาโจร 500 มาประชุมกับพระ 5 องค์…ลงมติกันทีไร โจร 500 เอาชนะพระ...

ภาพของ “เมือง” ในวรรณกรรมหลังเปลี่ยนแปลงการปกครอง

บทความ ภาพเสนอความเป็นเมืองในวรรณกรรมช่วง 2475 ถึงสงครามโลกครั้งที่ 2 ของ ชูศักดิ์ ภัทรกุลวณิชย์ ได้ศึกษาค้นคว้าวรรณกรรมในช่วงการเปลี่ยนแปลงการปกครอง ...

“ศรีกรุง” ออร์แกนของคณะราษฎร หนังสือพิมพ์ที่ช่วยโหมโรงการปฏิวัติ 2475...

"ศรีกรุงกำลังโหมโรงโดยได้รับหน้าที่เป็นออร์แกน (Organ) ของคณะราษฎรอยู่แทบตลอด" นี่คือคำกล่าวของ ร้อยตรีเนตร พูนวิวัฒน์ สมาชิกคณะ ร.ศ. 130 หรือกบฏเหล็ง...

90 ปี ปฏิวัติ 2475 พลังแห่งอดีต ที่ยังคงเคลื่อนไหวในปัจจุบันและอนาคต

ประวัติศาสตร์ คือการศึกษาเรื่องราวการเปลี่ยนแปลงในอดีตผ่านหลักฐานต่างๆ เพื่อนำมาเป็นบทเรียนในปัจจุบัน ดังคำกล่าว “ศึกษาอดีต เพื่อเข้าใจปัจจุบัน และมอง...

บทบาทและท่าที “หลังบ้านคณะราษฎร” ก่อนและหลังปฏิวัติ 2475

การปฏิวัติ 2475 นอกจากสมาชิก “คณะราษฎร” แล้ว บรรดาภรรยาคู่ชีวิตของสมาชิกคณะราษฎร หรือ “หลังบ้านคณะราษฎร” ก็มีส่วนเกี่ยวข้องกับปฏิบัติการครั้งนี้ แล้วส...

หมุดหาย คณะราษฎรโผล่ : บทสำรวจงานเขียนเกี่ยวกับ “ปฏิวัติ 2475”

การปฎิวัติสยามเมื่อวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2475 เป็นการเปลี่ยนแปลงการปกครองจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์สู่ระบอบประชาธิปไตยภายใต้การบริหารของกลุ่มคณะราษ...

ปฏิวัติ 2475 ส่งผลต่อแนวคิด “ผัวเดียวหลายเมีย” และ “ความเสมอภาค” ของผู้หญิง อย่า...

ภายหลังคณะราษฎร "ปฏิวัติ" เปลี่ยนระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์มาสู่ระบอบรัฐธรรมนูญเมื่อวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2475 มโนทัศน์ว่าด้วยเสรีภาพและความเสมอภาคได้...

เปิดวินาทีทหารคณะราษฎรชักปืนใส่ “เจ้านาย” ในปฏิวัติ 2475 จากบันทึกเจ้านายสตรี...

ช่วงเกิดเหตุการณ์คณะทหารออกปฏิบัติการเปลี่ยนแปลงการปกครองเมื่อ พ.ศ. 2475 เจ้านายสตรีที่ประทับอยู่ในวังต่าง ๆ ต่างมีความทรงจำเกี่ยวกับเหตุการณ์นี้และถ่...

มรดกคณะราษฎรผ่านสถาปัตยกรรมความเป็น “สมัยใหม่” สู่เมืองมหาสารคาม

เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงการปกครองในปี พ.ศ. 2475  ในยุคของ “คณะราษฎร” นับเป็นจุดเปลี่ยนแปลงครั้งสำคัญ วัฒนธรรมประเพณีของคนไทยในสมัยนั้นถูกเปลี่ยนแปลงไป ช่...

หลอกทหารมาปฏิวัติ 2475 แผนการลวงของพระยาทรงสุรเดช

"นี่! เวลานี้เกิดกบฏกลางเมืองขึ้นแล้ว ผู้บังคับกองรักษาการณ์ยังไม่รู้อีกหรือ? มัวเอาแต่หลับนอนอยู่ได้ เอารถเกราะ รถรบ ทหารออกช่วยเดี๋ยวนี้!" วาทะของพร...

ติดตามเรา

เรื่องเด่น