เว็บไซต์นี้ใช้คุ้กกี้เพื่อสร้างประสบการณ์ที่ดีมีประสิทธิภาพยิ่งขี้น อ่านเพิ่มเติมคลิก (Privacy Policy) และ (Cookies Policy)
วันพฤหัสที่ 28 มีนาคม พ.ศ.2567
หน้าแรก แท็ก กัมพูชา

แท็ก: กัมพูชา

“สยาม” เป็นชื่อที่พวกกัมพูชาใช้หมายถึง “คนป่า”…

“จีนเรียกอาณาจักรสุโขทัยว่า ‘เสียน’ ส่วนคำว่า ‘สยาม’ เป็นชื่อที่พวกกัมพูชาใช้หมายถึง ‘คนป่า’ จากแถบกลางของแม่น้ำ (เจ้าพระยา) ซึ่งมีรูปแกะสลักอยู่ที่ระ...

ร่องรอย “พระมหามงกุฎ” และของที่ราชวงศ์ไทยพระราชทานกษัตริย์กัมพูชา สมัยรัตนโกสินท...

ร่องรอย “พระมหามงกุฎ” และของที่ราชวงศ์ไทยพระราชทานกษัตริย์กัมพูชา สมัยรัตนโกสินทร์ ในสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ตอนต้น ประเทศกัมพูชามีสงครามความวุ่นวายภาย...

เจาะร่องรอย “แพน” นางละครชาวสยาม ผู้เกือบได้เป็นราชินีแห่งกัมพูชา?

เรื่องราวของ “แพน เรืองนนท์” นางละครชาวสยามผู้ต้องพระทัยพระเจ้ากรุงกัมพูชา จากปากคำของ ทองใบ เรืองนนท์ ครูละครชาตรี น้องชายต่างมารดา ซึ่ง เอนก นาวิกมู...

“อโรคยศาล” สถานที่รักษาโรคทางกาย-จิต ผลงานเขมรสมัยพระนคร ยุคพระเจ้าชัยวรมันที่ 7...

พระเจ้าชัยวรมันที่ 7 ทรงเป็นกษัตริย์เขมรในช่วงพุทธศตวรรษที่ 18 ทรงสถาปนาพุทธศาสนสถานขึ้นเป็นจำนวนมากทั่วพระราชอาณาจักร พร้อมกับการสร้างเมืองนครธมให้เป...

จาก “เสียม (สยาม)” สู่ “ไถ (ไทย)” : บริบทและความหมายในการรับรู้ของชาวกัมพูชา...

บทนำ ในการรับรู้ของชาวกัมพูชาคำภาษาเขมรที่ใช้เรียก “คนไทย” และ “ประเทศไทย” มี 2 คำ คำแรกคือ คำว่า “เสียม” (ออกเสียงว่า “เซียม” ตรงกับคำว่า “สยาม”) คำ...

เจ้าพระยาบดินทรเดชา (สิงห์ สิงหเสนี) กับบทบาทสร้างเมืองใหม่ในกัมพูชา

เรื่องราวการรับรู้เกี่ยวกับ เจ้าพระยาบดินทรเดชา (สิงห์) ของคนไทยส่วนใหญ่ มักระลึกถึงท่านในฐานะแม่ทัพผู้ถืออาญาสิทธิ์ในสงครามอานามสยามยุทธ์เท่านั้น แต่...

เจาะเพลงชาติกัมพูชา ความแตกต่างทางการเมือง ในจุดร่วมแห่งอดีตที่รุ่งเรืองของ “พระ...

ผู้เขียนได้เคยนำเสนอที่มาที่ไปเกี่ยวกับเพลงชาติกัมพูชาที่ใช้ในปัจจุบันมาครั้งหนึ่งแล้ว แต่เพลงที่นำเสนอมีเพียงเพลง "นครราช (นโกร์เรียช)" เพียงเพลงเดีย...

เผยเบื้องหลังเสี่ยงตาย!! แผนพา “จอมพล ป.” หนีออกนอก ที่เมืองตราด

เดือนกันยายน 2500 จอมพล ป. พิบูลสงคราม หนีออกนอกประเทศ ที่จังหวัดตราด ด้วยช่องทางธรรมชาติ เป็นเรื่องราวที่ทราบกันโดยทั่วไป แต่ใครเป็นผู้พา จอมพล ป.หลบ...

“ไทย” ในแบบเรียนประวัติศาสตร์กัมพูชา ตัวร้ายแย่งชิงดินแดน-นำความวิบัติสู่เขมร?

ประเด็นหนึ่งที่น่าหยิบยกมานําเสนอในที่นี้คือประเด็นอันเกี่ยวพันกับสํานึกร่วมทางประวัติศาสตร์ ซึ่งไทยและกัมพูชาอาจมีโลกทัศน์ในเรื่องนี้แตกต่างกัน และเร...

“เมืองปราจีนบุรี” ฤากษัตริย์กัมพูชาเคยเดินทัพผ่าน เมื่อคราวไปตีกรุงศรีอยุธยา!?...

เมืองโบราณในจังหวัดปราจีนบุรี ปรากฏหลักฐานที่เกี่ยวข้องกับเส้นทางโบราณ โดยเฉพาะในฐานะที่เป็นเมืองท่ามาตั้งแต่สมัยทวารวดีแล้ว ต่อมาเมื่ออาณาจักรเขมรโบร...

“ไม่ได้ขโมย” แต่ “ยืมไปโชว์” ตามรอยนักสำรวจฝรั่งเศสสมัยร.5 ขนสมบัตินครวัด ไปปารี...

“นครวัด” ตามทัศนะของรัฐบาลสยาม วัตถุโบราณจากนครวัดถูกขนย้ายออกนอกพื้นที่มาเป็นเวลากว่า 150 ปีแล้ว จนบัดนี้ก็ยังไม่สามารถประเมินว่ามีจำนวนมากน้อยเท่าไ...
นาค

“เหรา” ในพิธีแย่งศพ(มอญ) และนัยของสัตว์ครึ่งบกครึ่งน้ำในตำนาน “พระทองนางนาค” เขม...

“เหรา” ในพิธีแย่งศพ(มอญ) และนัยของสัตว์ครึ่งบกครึ่งน้ำในตำนาน “พระทองนางนาค” เขมร ความเชื่อเกี่ยวกับ "นาค" อยู่คู่กับสังคมแถบอุษาคเนย์มายาวนาน ปราก...

ติดตามเรา

เรื่องเด่น