เว็บไซต์นี้ใช้คุ้กกี้เพื่อสร้างประสบการณ์ที่ดีมีประสิทธิภาพยิ่งขี้น อ่านเพิ่มเติมคลิก (Privacy Policy) และ (Cookies Policy)
วันอังคารที่ 23 เมษายน พ.ศ.2567
หน้าแรก แท็ก กรุงเทพ

แท็ก: กรุงเทพ

ย่าน บางรัก กรุงเทพ

รู้หรือไม่? ยุคหนึ่ง “บางรัก” คืออาณาจักรฟาร์มปศุสัตว์พ่อค้าอินเดีย

“บางรัก” เป็นอีกย่านในกรุงเทพมหานคร ที่มีความเป็นมายาวนานนับศตวรรษ โดยเฉพาะในสมัยรัชกาลที่ 4 ที่ชาวต่างชาติเข้ามาในสยามมากขึ้น หนึ่งในนั้นคือ “ชาวอินเ...
สี่แยก บางพลัด

“บางพลัด” ชื่อย่านในกรุงเทพฯ มาจากภาษามลายู แหล่งต้นกะพ้อ?

“บางพลัด” เป็นหนึ่งในเขตของกรุงเทพมหานคร กินพื้นที่ฝั่งธนบุรี ที่มาของชื่อมีหลายข้อสันนิษฐาน บ้างก็ว่าอาจเพี้ยนมาจาก “Palas” (ปาลัส) ซึ่งเป็นภาษามลายู...
คณะราษฎร เปลี่ยนแปลงการปกครอง ปฏิวัติ 2475

ชื่อ “ซอยทองหล่อ” มาจากไหน? ฤๅจะเป็นชื่อทหารในคณะราษฎร หรือนักธุรกิจจัดสรรที่ดิน...

กลุ่่มผู้ก่อการเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475 ที่เรียกกันว่า "คณะราษฎร" มีผู้จัดทำบันทึกเนื้อหารวบรวมข้อมูลประวัติของสมาชิกไว้มากมาย แต่ปฏิเสธได้ยากว่...
แม่น้ำเจ้าพระยา กรุงเทพฯ เรือจำนวนมาก

สำรวจร่องรอยที่มาของชื่อ “แม่น้ำเจ้าพระยา” ทำไมเรียกแม่น้ำ “เจ้าพระยา” ?...

คนไทยรู้จัก แม่น้ำเจ้าพระยา เสียจนไม่คิดจะสงสัยว่าทําไมแม่น้ำสายนี้จึงชื่อว่า “เจ้าพระยา” ครั้นเมื่อเกิดสงสัยขึ้นมาก็ไม่รู้จะไปหาคําตอบได้ที่ไหน? ...
สะพานเฉลิมเดช 57 หน้า วัดหัวลำโพง สามย่าน

เปิดที่มาชื่อ “สามย่าน” แหล่งเรียน แหล่งเที่ยว ศูนย์กลางเศรษฐกิจสำคัญของกรุงเทพฯ...

สามย่าน เป็นแหล่งเรียน เพราะมีจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และเป็นแหล่งเที่ยว เพราะมีพื้นที่ไลฟ์สไตล์ของคนรุ่นใหม่ เช่น จามจุรีสแควร์ ...
เรือ แล่น บ้านเมือง ธนบุรี ที่อดีตเคยเป็น ทะเลตม

“กรุงเทพฯ-ธนบุรี” เคยเป็น “ทะเลตม” มาก่อน จริงหรือ?

ในอดีต “กรุงเทพฯ” รวมไปถึงพื้นที่ใกล้เคียงอย่าง “ธนบุรี” เคยเป็นทะเลมาก่อน แต่หลายคนน่าจะไม่รู้ว่า เวลาต่อมาพื้นที่เหล่านั้นได้กลายเป็น “ทะเลตม” ข้...
ฝังคนทั้งเป็น ความเชื่อ ชาวสยาม รักษาบ้านเมือง

“ฝังคนทั้งเป็น” ตำนานสยองของไทยในบันทึกฝรั่ง

เรื่องการ “ฝังคนทั้งเป็น” ใน "กำแพงเมือง" ก็ดี "ศาลหลักเมือง" ก็ดี หรือสิ่งก่อสร้างขนาดใหญ่ต่างๆ เพื่อหวังให้วิญญาณผู้ตาย เฝ้ารักษาบ้านเมือง หรือสิ่งก...
ปากคลอง บางลำพู คลองบางลำพู กรุงเทพ พระนคร เรือ ใน คลอง

กรุงเทพมหานคร เมื่อประมาณร้อยปีก่อนหน้าตาเมืองเป็นอย่างไร

กรุงเทพมหานคร หรือ จังหวัดพระนคร และจังหวัดธนบุรี ที่มีทั้งสิ้น 21 อำเภอ ในสมัยรัชกาลที่ 7 หรือเมื่อร้อยกว่าปีก่อน เมืองมีหน้าตาเป็นอย่างไร พอมีเค้าว่...
จิตรกรรมฝาผนัง วัดใหม่เทพนิมิตร ช้าง ช้างป่า

กรมพระยาดำรงฯ ทรงสันนิษฐานสาเหตุ “ช้างป่า” หมดกรุงเทพฯ

กรมพระยาดำรงราชานุภาพ ทรงสันนิษฐานสาเหตุ "ช้างป่า" หมดกรุงเทพฯ นับตั้งแต่อดีตถึงปัจจุบัน ช้าง ถือได้ว่าเป็นสัตว์ที่อยู่คู่กับสังคมไทยมาอย่างยาวนาน ...
ตลาด นางเลิ้ง

“นางเลิ้ง” ย่านของกิน-ตลาดยอดฮิต มีที่มาจากอะไร?

“นางเลิ้ง” เป็นหนึ่งในตลาดเก่าแก่อยู่คู่กรุงเทพฯ มานานนับร้อยปี ผศ. ดร. นนทพร อยู่มั่งมี ผู้เชี่ยวชาญด้านประวัติศาสตร์จากมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (วิท...
บางบอน เขตบางบอน คลองบางบอน

เปิดประวัติเขต (คลอง) บางบอน ฤๅเกี่ยวกับใบบอน?

ใน พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2554 คำว่า “บาง” คือ ทางน้ำเล็ก ๆ และถิ่นฐานบ้านเรือนที่อยู่ใกล้ ส่วน “บอน” นั้น น่าจะมาจากพืชที่มีใบใหญ่คล้ายรูปห...
โรงหนัง ศาลาเฉลิมไทย

“ศาลาเฉลิมไทย” โรงหนังสแตนด์ อโลน ในตำนาน ความทรงจำครั้งสุดท้ายในยุค 90s

ก่อนจะมี โรงหนัง แฟรนไชส์ที่ขยายไปทั่วภูมิภาคอย่างปัจจุบัน ประเทศไทยก็เคยมียุคเฟื่องฟูของ “โรงหนังสแตนด์ อโลน” มาก่อน อาทิ สกาลา, ศาลาเฉลิมกรุง รวมไปถ...

ติดตามเรา

เรื่องเด่น