แท็ก: กรุงเทพมหานคร
“บางเขน” ชื่อนี้มาจากไหน เกี่ยวอะไรกับพระเจ้าอู่ทอง?
“บางเขน” เป็นทั้งชื่อเขตและชื่อคลองในกรุงเทพมหานคร หลายคนเมื่อได้ยินคำว่าบางเขน อาจคิดไปว่ามีความเกี่ยวข้องกับ “นกกางเขน” แต่หากดูที่มาของชื่อแล้ว ไม่...
เปิดที่มา “คลองสาน” ย่านดังฝั่งธนบุรี “สาน” นี้คืออะไร?
คลองสาน หนึ่งในย่านเก่าแก่ของกรุงเทพมหานคร ที่ตั้ง “ศาลกวนอู” ที่ผู้คนนิยมกราบไหว้ขอพร รวมทั้งเป็นที่ตั้ง “คลองสาน พลาซ่า” แหล่งช้อปปิ้งในตำนานของฝั่ง...
เปิดที่มา “สะพานควาย” ชื่อที่ได้จากวัวควายเดินกันคึกคัก?
“สะพานควาย” เป็นอีกย่านในกรุงเทพมหานคร ที่เดิมถือว่าอยู่ชานเมือง ไม่ค่อยมีผู้คนอยู่อาศัยหนาแน่น แต่เมื่อการพัฒนาด้านต่างๆ ขยายตัว ทุกวันนี้สะพานควายจึ...
“บางพลัด” ชื่อย่านในกรุงเทพฯ มาจากภาษามลายู แหล่งต้นกะพ้อ?
“บางพลัด” เป็นหนึ่งในเขตของกรุงเทพมหานคร กินพื้นที่ฝั่งธนบุรี ที่มาของชื่อมีหลายข้อสันนิษฐาน บ้างก็ว่าอาจเพี้ยนมาจาก “Palas” (ปาลัส) ซึ่งเป็นภาษามลายู...
สงสัยไหม ทำไม “ลาดพร้าว” หนึ่งในเขตของกรุงเทพมหานคร ถึงได้ชื่อนี้?
“ลาดพร้าว” เป็นหนึ่งใน 50 เขตทั้งหมดของ กรุงเทพมหานคร เชื่อกันว่า คนในอดีตเรียกพื้นที่แถบนี้ว่า ทุ่งบ้านลาดพร้าว ตำบลลาดพร้าว มาตั้งแต่มี พระราชบัญญัต...
“ฝังคนทั้งเป็น” ตำนานสยองของไทยในบันทึกฝรั่ง
เรื่องการ “ฝังคนทั้งเป็น” ใน "กำแพงเมือง" ก็ดี "ศาลหลักเมือง" ก็ดี หรือสิ่งก่อสร้างขนาดใหญ่ต่างๆ เพื่อหวังให้วิญญาณผู้ตาย เฝ้ารักษาบ้านเมือง หรือสิ่งก...
กรุงเทพมหานคร เมื่อประมาณร้อยปีก่อนหน้าตาเมืองเป็นอย่างไร
กรุงเทพมหานคร หรือ จังหวัดพระนคร และจังหวัดธนบุรี ที่มีทั้งสิ้น 21 อำเภอ ในสมัยรัชกาลที่ 7 หรือเมื่อร้อยกว่าปีก่อน เมืองมีหน้าตาเป็นอย่างไร พอมีเค้าว่...
จากกรุงธนบุรี สู่ “กรุงเทพฯ” เมืองหลวงที่มีชื่อยาวที่สุดในโลก
กรุงเทพมหานคร เป็นเมืองหลวงของประเทศ ตั้งแต่รัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก ทรงมีพระราชดำริว่า กรุงธนบุรี เมืองหลวงเดิมตั้งอยู่ในที่คับแคบ ...
กรุงเทพฯ ที่มีเขมร (จาม) ขุดคูเมือง และลาวสร้างกำแพงพระนคร
เมื่อรัชกาลที่ 1 ทรงสถาปนา กรุงเทพฯ เป็นเมืองหลวง การก่อสร้างต่างก็ค่อยๆ เริ่มขึ้น ไม่ว่าจะเป็นพระบรมมหาราชวัง, ประตูและป้อมปราการของพระราชวัง, กำแพงพ...
“กินข้าวนอกบ้าน” ฮิตในกทม.เมื่อไหร่ ชนชั้นสูงนิยมแม้กินกลางตลาดเคยเป็นภาพชนชั้นล...
การกินข้าวกลางตลาด หรือ "กินข้าวนอกบ้าน" ถือเป็นเรื่องปกติของชนชั้นล่างในช่วงรัชกาลที่ 1 ถึงรัชกาลที่ 4 ขณะที่ชนชั้นสูงมีวัฒนธรรมการกินที่สัมพันธ์กับส...
สะพานพระราม 8 ทัศนะอุจาด ทำลาย “ประวัติศาสตร์” ของ “เมือง”-กรุงเทพฯ...
หลังจาก สะพานพระราม 8 เปิดใช้งานอย่างเป็นทางการเมื่อวันที่ 20 กันยายน 2545 ปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นของคนส่วนใหญ่ต่อสะพานพระราม 8 ล้วนเป็นไปในเชิงบวกแทบทั้...
ความเป็นกรุงเทพฯ ที่แท้จริง เริ่มสมัย “รัชกาลที่ 3”
พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 3 ทรงมีบทบาทอย่างมากต่อการสร้างความเป็นกรุงเทพฯ
เพราะกรุงเทพฯ ไม่ได้สร้างเสร็จในปีเดียว แม้ในแผ่นดิน...