แท็ก: กรุงเทพมหานคร
“ฝังคนทั้งเป็น” ตำนานสยองของไทยในบันทึกฝรั่ง
เรื่องการ “ฝังคนทั้งเป็น” ใน "กำแพงเมือง" ก็ดี "ศาลหลักเมือง" ก็ดี หรือสิ่งก่อสร้างขนาดใหญ่ต่างๆ เพื่อหวังให้วิญญาณผู้ตาย เฝ้ารักษาบ้านเมือง หรือสิ่งก...
จากกรุงธนบุรี สู่ “กรุงเทพฯ” เมืองหลวงที่มีชื่อยาวที่สุดในโลก
กรุงเทพมหานคร เป็นเมืองหลวงของประเทศ ตั้งแต่รัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก ทรงมีพระราชดำริว่า กรุงธนบุรี เมืองหลวงเดิมตั้งอยู่ในที่คับแคบ ...
กรุงเทพฯ ที่มีเขมร (จาม) ขุดคูเมือง และลาวสร้างกำแพงพระนคร
เมื่อรัชกาลที่ 1 ทรงสถาปนา กรุงเทพฯ เป็นเมืองหลวง การก่อสร้างต่างก็ค่อยๆ เริ่มขึ้น ไม่ว่าจะเป็นพระบรมมหาราชวัง, ประตูและป้อมปราการของพระราชวัง, กำแพงพ...
“กินข้าวนอกบ้าน” ฮิตในกทม.เมื่อไหร่ ชนชั้นสูงนิยมแม้กินกลางตลาดเคยเป็นภาพชนชั้นล...
การกินข้าวกลางตลาด หรือ "กินข้าวนอกบ้าน" ถือเป็นเรื่องปกติของชนชั้นล่างในช่วงรัชกาลที่ 1 ถึงรัชกาลที่ 4 ขณะที่ชนชั้นสูงมีวัฒนธรรมการกินที่สัมพันธ์กับส...
สะพานพระราม 8 ทัศนะอุจาด ทำลาย “ประวัติศาสตร์” ของ “เมือง”-กรุงเทพฯ...
หลังจาก สะพานพระราม 8 เปิดใช้งานอย่างเป็นทางการเมื่อวันที่ 20 กันยายน 2545 ปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นของคนส่วนใหญ่ต่อสะพานพระราม 8 ล้วนเป็นไปในเชิงบวกแทบทั้...
21 เมษายน พุทธศักราช 2325 : รัชกาลที่ 1 โปรดเกล้าฯ ให้ทำพิธีวางเสาหลักเมือง
ณ วันเสาร์ แรม 9 ค่ำ เดือน 5 จุลศักราช 1144 ปีขาล จัตวาศก หรือวันที่ 6 เมษายน พุทธศักราช 2325 พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ได้เสด็จเข้าพระนค...
กำเนิด “ถนนข้าวสาร” จากคลองสู่ถนนชื่ออาหารหลักคนไทยได้อย่างไร
ถนนความยาว 400 เมตรเส้นนี้นั้นแสนมหัศจรรย์ มีเรื่องราวเล่าผ่านรุ่นต่อรุ่น "ถนนข้าวสาร" วันนี้ กับแสงสีที่ไร้ซึ่งเส้นแบ่งระหว่างกลิ่นอาชญากรรม คาวโลกีย...
เปิดประวัติวัดธาตุทอง หนึ่งในท่อนเพลงสุดฮิตอย่าง “ธาตุทองซาวด์”
“Yo นี่คือเสียงจากเด็กวัด!” วินาทีนี้คงไม่มีใครไม่รู้จักเพลง “ธาตุทองซาวด์” เพลงฮิตติดกระแสจากแรปเปอร์มีชื่ออย่าง “YOUNGOHM” ที่กวาดยอดวิวไปมากกว่า 50...
ความเป็นกรุงเทพฯ ที่แท้จริง เริ่มสมัย “รัชกาลที่ 3”
พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 3 ทรงมีบทบาทอย่างมากต่อการสร้างความเป็นกรุงเทพฯ
เพราะกรุงเทพฯ ไม่ได้สร้างเสร็จในปีเดียว แม้ในแผ่นดิน...
เปิดแง่มุม “กรุงธน-กรุงเทพฯ” ที่ (อาจ) ไม่รู้จัก ผ่านโบราณคดีเมืองและแผนที่
เรื่องราวของ กรุงธน และ กรุงเทพฯ อาจมีการศึกษาวิจัยแล้วมากมาย แต่ก็ยังมีเรื่องราวอีกไม่น้อยที่รอการค้นพบผ่านแง่มุมของโบราณคดีเมืองและแผนที่ ซึ่งเวที “...
ถนนเจริญกรุง ฝุ่นจับ-สกปรก มี “ตรอกอาจม” ร.5 ทรงกำชับทำให้สะอาดก่อนต่างชาติมา...
ตั้งแต่รัชกาลที่ 1 ทรงย้ายราชธานีมาสร้างกรุงเทพฯ บ้านเมืองก็มีวิวัฒนาการเรื่อยมา เริ่มต่อเติมสร้างถนนหลายจุดในแต่ละรัชสมัย จนมาถึงช่วงรัชกาลที่ 5 ซึ่ง...
กรุงเทพมหานคร เมื่อประมาณร้อยปีก่อนหน้าเมืองเป็นอย่างไร
กรุงเทพมหานคร หรือ จังหวัดพระนคร และจังหวัดธนบุรี ที่มีทั้งสิ้น 21 อำเภอ ในสมัยรัชกาลที่ 7 หรือเมื่อร้อยกว่าปีก่อน เมืองมีหน้าตาเป็นอย่างไร พอมีเค้าว่...