แท็ก: กรุงสุโขทัย
“พระมหาเถรศรีศรัทธา” คือใคร? ตีแผ่ตัวตนของผู้สร้างจารึกวัดศรีชุม
ผู้ศึกษาประวัติศาสตร์หรืออ่านจารึกสุโขทัยน่าจะคุ้นชื่อของ พระมหาเถรศรีศรัทธา ในฐานะผู้สร้าง จารึกสุโขทัยหลักที่ 2 หรือ จารึกวัดศรีชุม หลักฐานสำคัญที่อ...
เมืองฉอดอยู่ไหน? สืบถิ่นฐาน “ขุนสามชน” คู่ยุทธหัตถีของพ่อขุนรามคำแหง
ประวัติศาสตร์สุโขทัยเล่าพระราชประวัติ พ่อขุนรามคำแหงมหาราช ว่ามีเหตุการณ์ยุทธหัตถี ระหว่างพระองค์กับ ขุนสามชน แห่ง “เมืองฉอด” ซึ่งยกทัพมาตีเมืองตาก ส่...
ตามรอย “ขุนเดช” (ตัวจริง) ผู้พิทักษ์โบราณสถานแห่งสุโขทัย ศรีสัชนาลัย...
วันที่ 13 มกราคม 2528 คือวันถึงแก่กรรมของขุนเดช (ตัวจริง) หรือ "จิระเดช ไวยโกสิทธิ์" ผู้เป็นแรงบันดาลใจในการเขียนเรื่องสั้น ชุด "ขุนเดช" ของสุจิตต์ วง...
รัฐสุโขทัย สมัยพ่อขุนรามฯ อาณาเขตครอบคลุมถึงอโยธยา?
รัฐสุโขทัย สมัยพ่อขุนรามฯ อาณาเขตกว้างใหญ่ไพศาลจนครอบคลุมถึงอโยธยา (โบราณ) เลยหรือไม่? เรื่องนี้สืบได้จากการวิเคราะห์หลักฐานในจารึกต่าง ๆ กันอีกครั้ง ...
พระยาลิไทไปอยู่ “สองแคว” อยู่ดีๆ ทำไมต้องไป?
"พระยาลิไท" ไปอยู่ “เมืองสองแคว” อยู่ดีๆ ทำไมต้องไป?
มีเรื่องที่น่าสนใจเกี่ยวกับประวัติศาสตร์สุโขทัยในวารสารศิลปวัฒนธรรม ฉบับเดือนมกราคม 2532 อยู่เ...
“ถนนพระร่วง” คืออะไรกันแน่ ถนน คลอง หรือคันดินกั้นน้ำ ?
“ถนนพระร่วง” คือแนวคันดินโบราณความยาวกว่า 123 กิโลเมตร ทอดตัวเชื่อมเมืองกำแพงเพชร เมืองเก่าสุโขทัย และเมืองศรีสัชนาลัยในปัจจุบันเป็นแนวเหนือ-ใต้ เนื่อ...
ไม่มีเมืองสระหลวง ในสมัยสุโขทัย
สระหลวง แปลกันตรงๆ แปลว่า สระใหญ่
เป็นชื่อเมืองที่ปรากฏอยู่ในเอกสารที่บันทึกเป็นลายลักษณ์อักษรในสมัยกรุงศรีอยุธยาตอนปลาย-ต้นรัตนโกสินทร์ เช่น ในพระ...
พ่อขุนรามคำแหง-พ่อขุนรามพล เป็นบุคคลเดียวกันหรือไม่?
“พ่อขุนรามคำแหง” เป็นพระนามพระเจ้าแผ่นดินองค์หนึ่งของ “รัฐในอุดมคติ” (คือแคว้นสุโขทัย) จนเกือบจะเป็น “พระนามในอุดมคติ” ไปด้วย เพราะพบพระนามนี้ในจารึกห...