แท็ก: กฎหมายตราสามดวง
ตาเถร-ยายชี นารี-นักบวช ใคร ? คือ “มหาโจรปล้นพระศาสนา”
ตาเถร-ยายชี นารี-นักบวช ใคร ? คือ "มหาโจรปล้นพระศาสนา"
ขบวนการ "พระศรีอาริย์" กับ "ผู้มีบุญ" (หรือ "ผีบุญ") ในสยามประเทศ มีมาช้านานแล้ว อย่างน้อยก็...
ศิษย์สืบสายสำนักพระยาพิชัยฯ ชกมวยเขมรตาย จนยกเลิกมวยคาดเชือก
มวยคาดเชือก ในปัจจุบันเป็นที่พูดถึงและมีให้เห็นในหน้าสื่อกันบ้าง แต่หากย้อนกลับไปในรัชสมัยรัชกาลที่ 6 เป็นต้นมาซึ่งเป็นยุคที่มวยเริ่มเป็นกีฬาแบบในยุคป...
บทลงโทษสุดโหด ในกฎหมายตราสามดวง ที่ความตายเรียก “พี่”
การลงโทษผู้กระทําผิดตามกฎหมายในสมัยก่อน หรือ กฎหมายตราสามดวง ซึ่งเริ่มใช้ตั้งแต่ต้นกรุงศรีอยุธยามาสิ้นสุดในรัชกาลที่ 5 สมัยรัตนโกสินทร์ นั่นเท่ากับว่า...
กฎหมายโบราณของไทย ว่าด้วย “การวิวาทด่าตีกัน” ระบุโทษอย่างไรบ้าง
"กฎหมายโบราณ" ของไทยที่เกี่ยวข้องกับ ทะเลาะวิวาท การให้ร้ายด้วยวาจา และการทำร้ายร่างกาย มีระบุเป็นลายลักษณ์อักษรในหัวข้อ "พระไอยการลักษณวิวาทด่าตีกัน"...
อาบัติ “ปาราชิก” ย้อนดูเหตุการณ์ปาราชิกสมัยรัชกาลที่ 4
ปาราชิก แปลว่า ยังผู้ต้องให้พ่าย , ผู้พ่ายแพ้ เป็นอาบัติของภิกษุที่มีโทษร้ายแรงที่สุดในพุทธบัญญัติ
ปาราชิกมี 4 ประการ คือ เมถุนปาราชิก-เสพเมถุน, อท...
ย้อนคดีอำแดงเหมือน เมื่อหญิงสาวลุกขึ้นสู้ ไม่ยอมถูกคลุมถุงชนให้ชายที่ตัวไม่รัก
คดีนี้เกิดขึ้นเมื่อ จ.ศ. 1227 (พ.ศ. 2408)... อำแดงเหมือน เป็นบุตรนายเกดกับอำแดงนุ่ม มีอายุได้ 21 ปี ตั้งบ้านเรือนอยู่ที่บางม่วง แขวงเมืองนนทบุรี ได้รั...
ย้อนคดีผัวเมีย ปมเริ่มต้นสู่กำเนิดกฎหมายตราสามดวง ประมวลกฎหมายแรกแห่งรัตนโกสินทร...
ไม่เพียงแต่ผู้ศึกษากฎหมายไทยที่ต้องรู้จักความสำคัญของ กฎหมายตราสามดวง คนทั่วไปน่าจะคุ้นเคยกับชื่อกฎหมายนี้ในฐานะประมวลกฎหมายฉบับแรกแห่งสมัยรัตนโกสินทร...
ฆาตกรรมชิงทรัพย์เด็กสมัยรัตนโกสินทร์ กับคดี “หนูไก๋” น่าหดหู่ สมัยรัชกาลที่ 5
คดี "ฆ่าชิงทรัพย์" มีให้เห็นมาโดยตลอดไม่ว่าจะยุคไหนสมัยไหน โดยเฉพาะคดีที่เกี่ยวกับ "เด็ก" ลักพาตัวและชิงเอาทรัพย์สินที่มักจะเป็นเครื่องประดับมีค่านั้น...
ในยุคสังคมศักดินา คนต่ำศักดิ์ ด่า-นินทา-แฉ-วิจารณ์ คนสูงศักดิ์ ได้หรือไม่?
เมื่อพิจารณากฎหมายตราสามดวงซึ่งเป็นกฎหมายที่ได้มีการบังคับใช้ภายใต้สังคมศักดินา ตั้งแต่สมัยกรุงศรีอยุธยาจนถึงสมัยรัชกาลที่ 5 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ พบว่...
พระเจ้าแผ่นดินสยามทรงสั่งห้าม “ไทย-มอญ-ลาว” สมสู่กับฝรั่งนอกรีต ฝ่าฝืนโทษถึงตาย
พระราชกำหนดเก่าบทที่ 36 ว่าด้วยการห้ามไทยมอญลาวเสพย์เมถุนธรรมกับชาวต่างประเทศผู้ถือมิจฉาทิฏฐิ แห่งกฎหมายตราสามดวงซึ่งมีการชำระขึ้นในสมัยรัชกาลที่ 1 มี...
“ภรรยาพระราชทาน” นโยบายใช้ผู้หญิงเพื่อความมั่นคง สู่กฎหมายที่ “เมียหลวง” ต้องหลบ...
"ใครซื่อเจ้าเติมนาง" ไม่ใช่เรื่องพูดกันสนุกๆ หาก แต่เป็นธรรมเนียมนนิยมอย่างหนึ่งในราชสำนักสมัยสมบูรณาญาสิทธิราชย์ กล่าวคือ ผู้ใดทำความดีความชอบ จงรักภ...
“ดำน้ำลุยเพลิง” วิธีพิจารณาคดีความสมัยโบราณของไทย สิ่งศักดิ์สิทธิ์คือผู้พิพากษา...
บทนำ
ปฏิเสธไม่ได้ว่าในปัจจุบันโลกได้พัฒนาก้าวไกลมาก เทคโนโลยีที่มีอยู่อย่างดาษดื่นทำให้มนุษย์ได้รับความสะดวกสบายมากขึ้น นอกเหนือไปจากความสะดวกสบายที่...